งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ วันพุธที่ 22 มิถุนายน เวลา น. ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารดรุณวิถี

2 ปฏิทิน ขั้นตอนการนำเสนอ พ. ร. บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ
ปฏิทิน ขั้นตอนการนำเสนอ พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ลำดับ วัน/เดือน/ปี ขั้นตอนและกิจกรรม 1 7 มิ.ย. 59 ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ และเอกสารประกอบงบประมาณ เพื่อนำเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป 2 ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบการตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 3 23 มิ.ย. 59 สภานิติบัญญัติแห่งชาติพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ในวาระที่ 1 4 24 มิ.ย ส.ค. 59 คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ (วาระที่ 2 ขั้นกรรมาธิการวิสามัญฯ) 24 มิ.ย. 59 การกำหนดแนวทางการพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ (การประชุมครั้งแรก) 27 มิ.ย ส.ค. 59 การพิจารณาร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ จำแนกตามส่วนราชการ ส่วนราชการและสำนักงบประมาณเตรียมข้อมูลและเข้าร่วมชี้แจงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 12 ก.ค. 59 ครม. ให้ความเห็นชอบหลักเกณฑ์การเพิ่มงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ก.ค. 59 ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นจัดทำรายละเอียดการเพิ่มงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ ตามหลักเกณฑ์ที่ ครม. พิจารณาให้ความเห็นชอบ นำเสนอรัฐมนตรี เจ้าสังกัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ และส่งสำนักงบประมาณ ต่อ

3 ลำดับ วัน/เดือน/ปี ขั้นตอนและกิจกรรม 22 ก.ค. - 5 ส.ค. 59 สำนักงบประมาณพิจารณาและจัดทำรายละเอียดการเพิ่มงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560เสนอ นายกรัฐมนตรี เพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี 9 ส.ค. 59 - ครม. ให้ความเห็นชอบรายการเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 16 ส.ค. 59 - คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ นัดสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติผู้แปรญัตติเสนอคำแปรญัตติ ต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ 17 ส.ค. 59 - คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พิจารณารายการแปรญัตติเพิ่มและเปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่น และพิจารณาข้อสังเกตฯ 22 ส.ค. 59 - คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ตรวจรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ส.ค. 59 - สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาจัดพิมพ์รายงานประกอบการพิจารณาร่าง พ.รบ. งบประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 30 ส.ค. 59 - คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ส่งรายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ต่อประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 5 8 ก.ย. 59 สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ความเห็นชอบร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีฯ ในวาระที่ 2 - 3 6 16 ก.ย. 59 สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนำร่าง พ.ร.บ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อประกาศบังคับใช้เป็นกฎหมายต่อไป

4 ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญในการพิจารณาพระราชบัญญัติงบประมาณ ปี 2559
ภาพรวม แผนงานบูรณาการ - กระทรวงควรกำหนดแผนปฏิบัติราชการ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญ ของโครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินงาน แนวทางการติดตามประเมินผล - การติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณ ควรมุ่งเน้นการประเมินผลในเชิงสัมฤทธิ์ของงาน/โครงการควบคู่กันไป เพื่อติดตามความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ ลดความซ้ำซ้อน - ควรพิจารณาทบทวนภารกิจและงบประมาณที่เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการจัดสัมมนา ฝึกอบรม ควรพิจารณาข้อมูลเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายและกิจกรรม ปี 59 กับ ปี 60เพื่อ ลดความซ้ำซ้อนของงาน - ค่าจ้างที่ปรึกษา ควรใช้บุคลากรจากสถาบันการศึกษาในลักษณะการทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสถาบันการศึกษาโดยตรง และไม่จ้างที่ปรึกษาในเรื่องที่บุคลากรของหน่วยงานสามารถทำเองได้ เช่น การจัดทำยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน - การจัดหาครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ จะต้องแจกแจงรายละเอียดของการจัดหาทั้งระบบ ราคา ชนิด ประเภท จำนวน และคุณลักษณะของอุปกรณ์ระบบจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1 2 3 4 5 6 7 8 หน่วยงานเจ้าภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจเจตนารมณ์ แนวคิด แนวทางของการบูรณาการแผนงาน การกำหนดเป้าหมาย แนวทาง และตัวชี้วัดของแผนงานบูรณาการไม่เฉพาะเจาะจง และตัวชี้วัด ส่วนใหญ่เป็นตัวชี้วัดเชิงนามธรรม รวมทั้งตัวชี้วัดระดับหน่วยงานไม่ตอบสนองต่อตัวชี้วัดของแผนบูรณาการ ลักษณะของกิจกรรมและงบประมาณเป็นการรวมกิจกรรมและ งบประจำของหน่วยงาน ลักษณะการทำโครงการ ยังเป็นรูปแบบต่างคนต่างทำ เป็น Silo Base หน่วยงานเจ้าภาพหลักควรมีแผนงานบูรณาการที่ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ชาติ/นโยบายรัฐบาล หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ควรมีกรอบความคิด (Concepts) การวิเคราะห์ SWOT ของแผนงานบูรณาการในภาพรวม และสรุปแผนงานบูรณาการ ที่มีการวางแผนที่ชัดเจน ควรให้การดูแลเด็กใน จชต.ทุกกลุ่ม ทั้งเด็กที่นับถือศาสนาพุทธและศาสนาอิสลามบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นในพื้นที่ เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงผู้ใช้บริการเน้นการสร้างเครือข่ายและอาสาสมัครในพื้นที่ในแต่ละชุมชน กำหนดให้มีหน่วยงานรับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละตัวชี้วัด และเชื่อมโยงไปถึงตัวชี้วัดของเป้าหมายรวมของแผนงานบูรณาการ เพื่อให้การบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ เด็กเร่ร่อนอยู่เป็นจำนวนมากและเด็กดังกล่าวยังไม่มีโอกาสที่จะเข้าถึงช่องทางในการรับการบริการจากหน่วยงานภาครัฐได้ จึงควรดูแลให้การบริการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายกลุ่มนี้ให้มากขึ้น ควรตรวจสอบโครงการ กิจกรรมและการดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ให้มีความซ้ำซ้อน ตามหลักประหยัด คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ สำหรับการรวมตัวของเด็กและเยาวชนในรูปแบบของสภาในระดับต่างๆตามกฎหมายนั้น ยังได้รับการสนับสนุนงบประมาณไม่เพียงพอต่อการดำเนินการ จึงควรหาช่องทางสนับสนุนให้เพิ่มมากขึ้น หน่วยงานที่มีเงินนอกงบประมาณ เงินรายได้ เงินสะสม ให้พิจารณานำเงินเหล่านั้นมาประกอบการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องตามหลักความครอบคลุมทุกแหล่งเงิน ควรสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมของสภาเด็กและเยาวชนให้มีความต่อเนื่องเพื่อให้การบริหารจัดการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชนประสบผลสำเร็จ

5 สถาน การณ์กลุ่ม เป้าหมาย
ข้อมูลพื้นฐาน 0-5 ปี : 4,509,665 คน 6-12 ปี : 5,555,582 คน 13-17 ปี : 4,335,753 คน 18-25 ปี : 7,633,850 คน สถาน การณ์กลุ่ม เป้าหมาย เด็ก : 14,128,228 คน ร้อยละ ของประชากรทั้งประเทศ เยาวชน : 7,985,105 คน ร้อยละ 11.69 เด็กและเยาวชน : 21,813,333 คน ร้อยละ ของประชากรทั้งประเทศ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง พระราชบัญญัติส่งเสริม การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 พระราชบัญญัติการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติหอพัก พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทำความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 โครงสร้างหน่วยงาน - สถานสงเคราะห์เด็ก 30 แห่ง - บ้านพักเด็กและครอบครัว 77 แห่ง กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานเลขานุการกรม กลุ่มตรวจสอบภายใน ส่วนกลาง กองส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชน กองคุ้มครองเด็กและเยาวชน กองสวัสดิการเด็กและครอบครัว ศูนย์อำนวยการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม ศูนย์ปฏิบัติการโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ส่วนภูมิภาค กองยุทธการ กองสนับสนุน กองปฏิบัติ

6 สถานสงเคราะห์ ศูนย์บุตรบุญธรรม
สถิติผู้รับบริการ สถิติศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทั่วประเทศ จำนวน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มท. 19,785 ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน กทม. 312 สถานรับเลี้ยงเด็กกลางวัน กทม. 12 ศูนย์เลี้ยงเด็กเพื่อผู้ใช้แรงงาน รง. 61 สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน ดย. 1,571 รวม 21,741 แห่ง (รัฐ 20,109/เอกชน 1,632 แห่ง) ที่ หน่วยงาน ปี 55 ปี 56 ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 1 สถานสงเคราะห์เด็ก 5,898 5,756 5,889 5,778 6,400 2 สถานแรกรับเด็ก 400 309 349 293 350 3 สถานคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก 752 636 417 420 450 4 สถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็ก 167 163 147 137 150 5 สถาบันเพาะกล้าคุณธรรม 412 134 146 161 200 250 รวมทั้งหมด (30 แห่ง) 7,629 7,027 6,936 6,774 7,511 7,550 7,600 สถานสงเคราะห์เอกชนที่ จดทะเบียน กับ ดย. จำนวน 1,771 แห่ง จำนวน 83,141 คน ประเภทการรับบริการ ปี 56 ปี 57 ปี 58 เด็กกำพร้าถูกทอดทิ้ง 326 212 190 เด็กขอทาน 140 43 108 เด็กเร่ร่อน หนีออกจากบ้าน 263 182 178 ผู้ปกครองไม่สามารถดูแลได้ 821 769 972 เด็กถูกทารุณกรรมทางกาย/เพศ 582 505 620 ตั้งครรภ์ไม่พร้อม 344 264 241 บุตรติดมารดา 974 956 812 เด็กที่มีปัญหาความประพฤติ 557 440 389 ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ 644 461 720 ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 687 653 719 ผู้ประสบปัญหาสังคมอื่นๆ 3,490 2,944 3,144 รวมทั้งสิ้น 8,831 7,429 7,990 ศูนย์บุตรบุญธรรม บ้านพักเด็กฯ สถิติการมอบเด็กให้ในความอุปการะของครอบครัว บุญธรรมชาวไทย และครอบครัวชาวต่างประเทศ ปี ปี บุตร บุญธรรมไทย รวม บุตร บุญธรรม ส่วนกลาง (กทม.) ส่วนภูมิภาค ต่าง ประเทศ 56 381 1,922 2,303 344 2,647 57 433 2,182 2,615 280 2,895 58 376 1,463 1,839 321 2,160 1,190 5,567 6,757 945 7,702

7 ค่าใช้จ่าย Unit Cost อัตราค่าเฉลี่ยต่อหน่วยที่สำนักงบประมาณจัดสรรให้ปี 2559 ประเภทงาน/รายการอัตราราคางาน หน่วย ค่าอาหาร ค่าใช้จ่ายจำเป็นพื้นฐานของผู้รับบริการสงเคราะห์กลุ่มผู้รับบริการ ราคางานต่อหน่วย ค่าเสื้อผ้า/เครื่องแต่งกาย/ค่าใช้จ่ายไป ร.ร. ค่าของใช้ส่วนตัว ค่าเครื่องนอน ค่าเวชภัณฑ์ รวม 1. เด็กและเยาวชน 1.1 เด็กอายุแรกเกิด - 6 ปี แรกเกิด - 2 ปี บาท/คน/ปี 24,056 955 533 348 446 2,282 26,338 อายุ 3-6 ปี 20,619 1,181 454 2,429 23,048 1.2 เด็กโต (อายุ ปี) ศึกษาภายในสถานสงเคราะห์ 1,772 658 362 198 2,990 23,609 ศึกษาภายนอกสถานสงเคราะห์ 24,761 8,115 9,333 34,094 2. ผู้ประสบปัญหาทางสังคม เด็กอายุแรกเกิด - 6 ปี 10,168 428 323 173 99 1,023 11,191 เด็กและเยาวชนอายุ 7-18 ปี 378 262 181 920 11,088 ผู้ประสบปัญหาทางสังคมหญิง 423 220 1,004 11,172 ผู้ประสบปัญหาทางสังคมชาย 355 186 860 11,028

8 กรมกิจการเด็กและเยาวชน
เป้าหมายการให้บริการ จำนวน (คน) ด้านการคุ้มครอง 24,800 ด้านการส่งเสริมและพัฒนา 517,803 นโยบาย/มาตรการ 19 เรื่อง แผนงานบุคลากร ลบ. 18% กรอบคำของบประมาณ ปี 2560 จำนวน 38 โครงการ วงเงิน 3, ลบ. แผนงานพื้นฐาน 1, ลบ. 40% แผนงานบูรณาการ 1, ลบ. 42% ล้านบาท กองทุนคุ้มครองเด็ก 1, 1, 1, 1, งบประมาณเพิ่มขึ้น 8.86% 4, ลบ. 3, ลบ. 2, ลบ. 2559 2560 ลดลง 5.79 % เพิ่มขึ้น 1.26 % เพิ่มขึ้น % เพิ่มขึ้น % ลดลง % 2559 Pre-60 2560

9 ภารกิจบูรณาการ ภารกิจพื้นฐาน
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน 1. โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 1, ลบ. 2. โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน ลบ. 3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย ลบ. 4. โครงการสร้างเสริมหลักประกันโอกาสทางสังคมแก่เด็กและเยาวชนด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษา ลบ. 5. โครงการป้องกันและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชนอย่างมีส่วนร่วม ลบ. 6. โครงการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลบ. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย (บูรณาการ) 1, ลบ. ภารกิจบูรณาการ ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (บูรณาการ ) ลบ. 1. โครงการเยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด ( ลบ.) 1. โครงการคุ้มครองและสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชน ในมิติความรุนแรง ด้านยาเสพติด ( ลบ.) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง และการต่างประเทศ การป้องกัน ปราบปรามและบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด (บูรณาการ) ลบ. 2. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ( ลบ.) มาตรการ กลไก นโยบาย 11 โครงการ ลบ. ยุทธศาสตร์ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนลดความเหลื่อมล้ำและสร้างการเติบโตจากภายใน แผนงานรองเสริมสร้างสวัสดิการสังคมและยกระดับคุณภาพชีวิต 1, ลบ. ส่งเสริมศักยภาพ 10 โครงการ ลบ. จำนวน 29 โครงการ คุ้มครองสิทธิ 4 โครงการ ลบ. ภารกิจพื้นฐาน ช่วยเหลือ สงเคราะห์ 4 โครงการ ลบ. รายการค่าดำเนินการภาครัฐ (7) แผนงานรองบุคลากรภาครัฐเสริมสร้างสวัสดิการสังคมและยกระดับคุณภาพชีวิต ลบ. ข้าราชการ 500 คน พนักงานราชการ 1,431 คน ลูกจ้างประจำ 373 คน รวม 2,304 คน

10 แผนงานบูรณาการ 1 พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย งปม. 1, ลบ. 6 โครงการ 2 ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ งปม ลบ. 1 โครงการ เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนจากยาเสพติด งปม ลบ. 2 โครงการ 3

11 เชื่อมโยงยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย งปม. 1,328. 9739 ลบ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย งปม. 1, ลบ. 6 โครงการ ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพคนไทย ที่ 2 การสร้างความมั่นคงในชีวิต ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งและความอบอุ่นของครอบครัวไทย เป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 75 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 75 ของประชากรกลุ่มเป้าหมาย มีความมั่นคงในชีวิต ร้อยละ 80 ของครอบครัวมีความเข้มแข็งและความอบอุ่น แนวทาง การเกิดอย่างมีคุณภาพและการมีพัฒนาการสมวัย (เด็กปฐมวัย ปี) การมีทักษะชีวิตและทักษะการทำงาน (เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา ปี) การเตรียมความพร้อมให้เด็กปฐมวัยเป็นคนไทยที่มีความมั่นคงในชีวิต (เด็กปฐมวัย ปี) การสร้างโอกาสในการศึกษาระดับสูงและประสบการณ์การทำงานจริงเพื่อวางรากฐานความมั่นคงในชีวิต (เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา ปี) การวางรากฐานจริยธรรม คุณธรรมเพื่อความอยู่ดีมีสุข(เด็กวัยเรียน ปี) ตัวชี้วัดแนวทาง เด็กที่มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 กลุ่มเป้าหมายจำนวน 68,059 คน ได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตหรือทักษะการทำงาน ร้อยละ 70 ศูนย์เด็กเล็กที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สัดส่วนของเยาวชนได้รับโอกาสทางการศึกษาที่สูงขึ้น (ร้อยละ 66) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ร้อยละ 70 5. ป้องกันและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชนอย่างมี ส่วนร่วม ลบ. 6. ดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ลบ. 4. สร้างเสริมหลักประกันโอกาสทางสังคมแก่เด็กและเยาวชนด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษา ลบ. 1. เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 1, ลบ. 2. ส่งเสริมความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน ลบ. 3. พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย ลบ. โครงการ ศูนย์เด็กเล็ก/หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับรูปแบบมาตรฐานการปฏิบัติการ 21,000 แห่ง จำนวนเด็กที่ได้รับสวัสดิการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 200,000 คน จำนวนเด็กและเยาวชนที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 40,000 คน ตัวชี้วัดโครงการ ดย. เด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาใน 3 จว. ได้รับการจัดสวัสดิการฯ 300 คน จำนวนเด็กเยาวชน ครู พ่อแม่ และผู้ปกครอง ที่เข้าร่วมกิจกรรม 2,700 คน เด็ก เยาวชน ครอบครัว และชุมชนมีความรู้ด้านสุขภาวะทางเพศและทักษะชีวิตเพื่อสามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 21,280 คน

12 เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ งปม. 10. 0228 ลบ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ งปม ลบ. 1 โครงการ เป้าหมาย ลดปัญหาการทุจริตในสังคมไทย ค่าดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (CPI) เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 50 ในปี 2560 ตัวชี้วัดเป้าหมาย แนวทาง สร้างกลไกการป้องกันการทุจริตให้เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดแนวทาง ร้อยละของอาสาสมัครหรือเครือข่ายของส่วนราชการที่ผ่านการอบรม มีความรู้ความเข้าใจ และศักยภาพด้านการเฝ้าระวัง ร้อยละ 80 โครงการ เยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด ลบ. ตัวชี้วัด โครงการ ดย. จำนวนสภาเด็กและเยาวชนและเครือข่ายเด็กและเยาวชนสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และการป้องกันแก้ไขปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นไปสู่การปฏิบัติ 10,000 คน

13 เชื่อมโยงยุทธศาสตร์เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนจากยาเสพติด งปม
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนจากยาเสพติด งปม ลบ. 2 โครงการ เด็ก เยาวชน ผู้ใช้แรงงาน และประชาชน ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกัน ยาเสพติด หมู่บ้าน/ชุมชน พื้นที่เป้าหมายมีการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เป้าหมาย ตัวชี้วัดเป้าหมาย จำนวนผู้เสพรายใหม่ ไม่เกินร้อยละ 7 ของผู้เข้ารับการบำบัดรักษาทั้ง 3 ระบบ แนวทาง สร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพติด ตัวชี้วัดแนวทาง กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันยาเสพติด จำนวน 8,165,300 คน 1. คุ้มครองและสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชน ในมิติความรุนแรงด้านยาเสพติด ลบ. 2. รณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ลบ. โครงการ ตัวชี้วัด โครงการ ดย. จำนวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม มีภูมิคุ้มกัน รู้จักหลีกเลี่ยงและปฏิเสธยาเสพติด เห็นคุณค่าและศักยภาพของตนเองและคิดเชิงบวก 800 คน จำนวนสภาเด็กและเยาวชน และเครือข่ายเยาวชนสามารถขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด 77 จังหวัด

14 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
แผนงานบูรณาการ 1 พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย งปม. 1, ลบ. 6 โครงการ 1. โครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด งปม. 1,132,456,800 บ. (ศดร.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. เตรียมความพร้อมและสร้างความเข้าใจเรื่องเงินอุดหนุนเพื่อการ เลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 4,440,000 บ. 2. ค่าจัดจ้างทำโปสเตอร์ แผ่นพับ นิทรรศการ วีดิทัศน์ 300,000 บ. 3. ดำเนินการฝึกอบรมหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการ เช่น เตรียมพร้อมก่อนคลอด และหลังคลอด 4,990,000 บ. 4. จ้างบุคคลภายนอกปฏิบัติงาน 900,000 บ. 5. ดำเนินการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 1,113,120,000 บ. 5.1 ดำเนินการจ่ายเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิดในปีงบประมาณ 2559 ที่ขอรับต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 (100,000 คน x 600 บาท x 12 เดือน) 5.2 ดำเนินการจ่ายเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิดในปีงบประมาณ 2560 ที่ขอรับเงินเป็นปีแรก (100,000 คน x 600 บาท) (คำนวณแบบขั้นบันได) 6. ติดตามประเมินผล 4,000,000 บ. 7. การพัฒนาระบบฐานข้อมูล 3,186,800 บ ค่าบริหารจัดการ 1,520,000 บ. 1. จำนวนเด็กที่เข้าร่วมโครงการทำไมจึง 100,000 คน 2. หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้เข้าร่วมโครงการ 3. ถ้างบประมาณไม่เพียงพอสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ มีแนวทางการดำเนินเงินอย่างไร 4. มีการติดตามผู้เข้าร่วมโครงการหรือไม่ว่านำเงินไปใช้อะไร พัฒนาการของเด็กเป็นอย่างไร 5. การดูแลคุณภาพชีวิตโดยรวม นอกจากเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิดแล้ว มีการดำเนินการอะไรบ้าง 6. ระบบฐานข้อมูลมีการดำเนินการอย่างไรบ้าง 7. การจัดสรรเงินให้จังหวัดมีหลักเกณฑ์อย่างไรบ้าง 8. วิธีการจ่ายเงินจ่ายอย่างไร รับเงินที่ไหน อย่างไร กรณีสถิติวิธีการรับเงินแต่ละประเภท เช่น รับเงินสดกี่คน โอนเข้าบัญชีกี่คน 9. การลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ สามารถลงที่ไหนบ้าง ต่อ

15 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
2. โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน งปม. 75,809,000 บ. (กสพ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. มีสภาเด็กและเยาวชนที่หมดอายุกี่จังหวัด (มีกี่จังหวัดที่ต้องเลือกตั้ง) 2. สถิติแกนนำ เครือข่ายที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ 3. ผลการดำเนินงานของสภาเด็กฯ มี ผลกระทบที่เป็นรูปธรรมอะไรบ้าง 4. สภาเด็กฯ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเด็ก เยาวชน เช่น ยาเสพติด ตั้งครรภ์ แว้น หรือไม่อย่างไร 5. หลักเกณฑ์ในการอุดหนุนงบประมาณให้สภาเด็กฯ 6. นโยบายการสนับสนุนการจัดตั้งสภาฯ ตำบล ของ ดย. เป็นอย่างไร ในปี 60 มีเป้าหมายอย่างไร 1.การส่งเสริมบทบาทและพัฒนาศักยภาพสภาเด็กและเยาวชน/เครือข่ายเด็กและเยาวชน 20,310,000 บ. 2.การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน/เครือข่ายเด็กและเยาวชน/เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านเด็กและเยาวชน 1,505,000 บ. 3.การสนับสนุนงบประมาณแก่สภาเด็กและเยาวชนในการ ทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ในทุกระดับ 53,390,000 บ. 4.การพัฒนาองค์ความรู้ 504,000 บ. 5.การนิเทศ/ติดตามผลการดำเนินงาน 50,000 บ. 6.การถอดบทเรียนการดำเนินงาน 50,000 บ. ต่อ

16 3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย งปม. 57,798,700 บ. (กสพ.)
1 3. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย งปม. 57,798,700 บ. (กสพ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. คณะอนุกรรมการระดับจังหวัด มีบทบาทอย่างไรต่อการขับเคลื่อนงานในระดับพื้นที่ 2. การขับเคลื่อนมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ มีแนวทางอย่างไร 3. มีศูนย์ฯ ที่ได้มาตรฐานกี่แห่ง 4. ดย. มีแนวทาง วิธีการอย่างไร เพื่อให้ศูนย์ฯ นำมาตรฐานศูนย์ฯ ของ ดย. ไปใช้ให้ครบทุกศูนย์ 5. แนวทาง วิธีการ กำกับ ควบคุม ดูแล ติดตาม การรายงานผล อย่างไรสำหรับงบประมาณที่อุดหนุนให้กับสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน 6. จังหวัดมีแนวทาง หลักเกณฑ์อย่างไรในการอุดหนุนสถานรับเลี้ยงฯ 7. สื่ออะไร ทำอย่างไร ทำอย่างไร เผยแพร่ให้ใคร จำนวนเท่าไหร่ 1. การพัฒนามาตรการ/กลไกในการพัฒนาเด็กปฐมวัย 14,112,000 บ. 2. การขับเคลื่อนมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ สู่การปฏิบัติ 17,373,5000 บ. 3. การติดตามผล 256,000 บ. 4. การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน ให้กับ สนง.พมจ. และ กทม. 17,800,000 บ. 5. การพัฒนาสถานรับเลี้ยงและพัฒนาเด็กปฐมวัย 4,000,000 บ. 6. การผลิตสื่อ/องค์ความรู้ในการพัฒนาเด็กปฐมวัย 3,177,200 บ. 7. การจัดจ้างเจ้าหน้าที่โครงการ 1,080,000 บ. ต่อ

17 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
4. โครงการสร้างเสริมหลักประกันโอกาสทางสังคมแก่เด็กและเยาวชน ด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษา งปม. 10,000,000 บ . (กยผ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. สำรวจข้อมูลเด็กเยาวชนด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษาในจังหวัดเพื่อจัดทำฐานข้อมูลเด็กเยาวชนด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษาแก่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงจังหวัด 3,000,000 บ. 2. พัฒนาระบบสนับสนุนการบริหารข้อมูลสารสนเทศเด็กเยาวชนด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษา 3,000,000 บ. 3. พัฒนาพจนานุกรมชุดสวัสดิการด้านสังคมจากทุกส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องออนไลน์ 1,000,000 บ. 4. ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ พมจ. และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างหลักประกันโอกาสทางสังคมในจังหวัด 1,000,000 บ. 5. ดำเนินการจัดชุดสวัสดิการทางสังคมจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องแก่เด็กเยาวชนด้อยโอกาสนอกระบบการศึกษา จำนวน 300 คน 1,500,000 บ. 6. ติดตามและสังเคราะห์ผลการดำเนินงานเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะ เชิงนโยบายเพื่อขยายผลสู่นโยบายสาธารณะระดับชาติ 500,000 บ. ต่อ

18 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
5. โครงการป้องกันและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชน อย่างมีส่วนร่วม งปม. 5,000,000 บ. (กคค.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ทำอะไร ได้อะไรบ้าง 1. การจัดกิจกรรม “สัญญาใจ สายใยครอบครัว” 3,838,500 บ. 2. การจัดอบรมให้ความรู้และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชนในโรงเรียน 430,600 บ. 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน 550,900 บ. 4. จัดจ้างเจ้าหน้าที่โครงการ 180,000 บ. ต่อ

19 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
6. โครงการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งครรภ์ในวัยรุ่น งปม. 47,909,400 บ. (กคค. + กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. ติดตามการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 5,314,000 บ. 2. พัฒนาคู่มือการคุ้มครองช่วยเหลือวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์” 2,727,800 บ. 3. ส่งเสริมผู้ปฏิบัติงานด้านเด็กให้มีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 4,000,000 บ. 4. สนับสนุนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชนในการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 29,618,400 บ. 5. สรรหาและเชิดชูเกียรติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลการดำเนินงานพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 222,200 บ. 6. จัดจ้างประกวดพื้นที่และกิจกรรมสร้างสรรค์การป้องกันแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นและจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานในระดับ พื้นที่ 3,000,000 บ. 7. จัดจ้างทำสื่อสร้างสรรค์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 3,000,000 บ. 1. เป้าหมายและตัวชี้วัดที่สำคัญของโครงการคืออะไร 2. ในฐานะที่ ดย. เป็นหน่วยงานหลักของยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น มีแนวทางการช่วยเหลือ หรือดำเนินการอย่างไร 3. การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินงานโครงการใช้อะไรเป็นฐานในการคัดเลือก (Area base/Target base) 4. เมื่อสิ้นสุดโครงการแล้ว จะช่วยลดปัญหาการตั้งครรภ์ได้หรือไม่ อย่างไร 5. การสนับสนุนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ สนับสนุนให้ ใคร ทำอะไร ผลลัพธ์ที่ได้จากการสนับสนุนคืออะไร 6. มีการประเมินผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการหรือไม่ อย่างไร ต่อ

20 1. โครงการเยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด งปม. 10,022,800 บ. (กสพ.)
ป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ งปม ลบ. 1 โครงการ 1. โครงการเยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด งปม. 10,022,800 บ. (กสพ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. กิจกรรม “เยาวชนไทยหัวใจใสสะอาด” 1.1 การนิเทศติดตามและประเมินผล 44,200 บ. 1.2 การส่งเสริมสภาเด็กและเยาวชนดีเด่น 30,000 บ. 2. การสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และเครือข่ายเด็กและเยาวชนจัดกิจกรรม ด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชน 9,948,600 บ. - 77 จังหวัด ๆ ละ 30,000 บาท - 878 อำเภอ ๆ ละ 8,700 บาท วัด ประเมินผลสำเร็จของโครงการอย่างไร ต่อ

21 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนจากยาเสพติด งปม ลบ. 2 โครงการ 3 1. โครงการคุ้มครองและสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับเด็กและเยาวชนในมิติความรุนแรงด้านยาเสพติด งปม. 1,260,000 บ. (กคค.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การอบรมเชิงปฏิบัติการสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็กและเยาวชน ในมิติความรุนแรงด้าน ยาเสพติด 931,200 บ. 2. การสนับสนุนงบประมาณให้กับ สนง.พมจ. 10 แห่ง เพื่อให้ขยายผลการจัดกิจกรรมในพื้นที่ 200,000 บ. 3. การติดตามประเมินผล 128,800 บ. 1. วิธีการคัดเลือกพื้นที่ในการดำเนินโครงการ 2. วิธีการดำเนินงานของโครงการ ต่อ

22 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
2. โครงการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) งปม. 13,850,000 บ. (กสพ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. กิจกรรม “ TO BE NUMBER ONE ” 10,000,000 บ. 2. การสนับสนุนสภาเด็กและเยาวชนจังหวัด และเครือข่ายเด็กและเยาวชนจัดกิจกรรมด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 3,850,000 บ. 77 จังหวัด ๆ ละ 50,000 บาท ดย. มีแนวทางการจัดกิจกรรมให้แก่สภาเด็กฯ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดหรือไม่อย่างไร กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม

23 แผนงานพื้นฐาน 1 การบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร งปม ลบ. 1 โครงการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การ งปม ลบ โครงการ และ คชจ. จำเป็น 2 3 การสร้างมาตรการ กลไก ด้านเด็กและเยาวชน งปม ลบ โครงการ 4 การส่งเสริมศักยภาพเด็กและเยาวชน งปม ลบ โครงการ 5 การคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน งปม ลบ โครงการ 6 การบริการสวัสดิการสังคม งปม ลบ โครงการ และ คชจ. จำเป็น 7 การเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ชีวิตแก่เด็ก งปม ลบ โครงการ 8 การคุ้มครองและพัฒนาเด็กในครอบครัวทดแทน งปม ลบ โครงการ 9 การจัดบริการเพื่อช่วยเหลือและคุ้มครอง งปม ลบ โครงการ และ คชจ. จำเป็น

24 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
แผนงานพื้นฐาน 1 การบริหารจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร งปม ลบ. 1 โครงการ 1 1. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายภายในของกรมกิจการเด็กและเยาวชน งปม. 13,227,400 บ. (กยผ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การบำรุงรักษาระบบสารสนเทศภายใน ดย. 2,173,100 บ. 2. การบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วง และระบบเครือข่าย 3,010,500 บ. 3. การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 350,000 บ. 4. การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่ายภายในของกรมกิจการเด็กและเยาวชน 2,300,000 บ. 5. การจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทดแทนเครื่องเดิมที่มีอายุการใช้งานเกิน 7 ปี 5,393,800 บ. 1. มีวิธีคิดต้นทุนในการบำรุงรักษาอย่างไร 2. มีสถิติการซ่อม บำรุง เครื่องคอมพิวเตอร์ (PC) รายปีหรือไม่ 3. การพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยี พัฒนาใคร อย่างไร 4. การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือข่าย ดำเนินการอย่างไร 5. ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของหน่วยงานในพื้นที่ใครเป็นผู้ดูแล

25 การพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การ งปม. 54. 6130 ลบ. 4 โครงการ และ คชจ
การพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์การ งปม ลบ. 4 โครงการ และ คชจ. จำเป็น 2 1 2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาระบบบริหารขององค์กร งปม. 2,100,000 บ. (กพร.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ผลที่ได้รับ เป้าหมาย ที่ได้รับ เมื่อสิ้นสุดโครงการ คืออะไร 1. การดำเนินงานตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 859,800 บ. 2. การส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการและงานนวัตกรรมวิชาการ 234,900 บ. 3. การควบคุมภายใน 94,600 บ. 4. การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและติดตามและประเมินผล 676,800 บ. 5. แผนการบริหารความต่อเนื่อง 59,500 บ. 6. การเสริมสร้างศักยภาพระบบงานบริหาร 174,400 บ. ต่อ

26 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
3. โครงการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสู่ความเป็นเลิศ งปม. 16,459,900 บ. (บค./พบ..) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสู่ความเป็นเลิศ 14,659,200 บ. 2. การพัฒนาองค์ความรู้และบุคลากรด้านเด็กและเยาวชน 1,800,700 บ. 1. ในปี 2560 มีเป้าหมายอย่างไรในการพัฒนาบุคลากร 2. การพัฒนาบุคลากรด้านเด็กและเยาวชนสู่ความเป็นเลิศ มีทิศทาง แนวทาง การพัฒนาด้านใด อย่างไร ต่อ

27 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
4. โครงการพัฒนาและผลักดันกฎหมายเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย งปม. 2,100,000 บ. (กม.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. มีกฎหมายอะไรบ้างที่ต้องพัฒนา ผลักดัน 2. ที่ผ่านมามีการดำเนินงานอะไรบ้าง ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการอะไร และ ในอนาคตมีแผนการดำเนินงานอย่างไร 1. ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ เกี่ยวกับเด็ก เยาวชน 1,266,000 บ. 2. จัดประชุม/อบรมให้ความรู้ด้านกฎหมายรวมทั้งการรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย 454,000 บ. 3. การผลิต การเผยแพร่ ข้อมูลเอกสารทางกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมาย 200,000 บ. 4. การจัดจ้างเจ้าหน้าที่ช่วยปฏิบัติงานโครงการ 180,000 บ. ต่อ

28 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
1 5. โครงการประชาสัมพันธ์เพื่อการสื่อสารองค์กร งปม. 1,700,000 บ. (ปส.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. กิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งาน ดย. 1,340,000 บ. 2. กิจกรรมส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร 360,000 บ. ต่อ

29 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
3 การสร้างมาตรการ กลไก ด้านเด็กและเยาวชน งปม ลบ โครงการ 1 6. โครงการส่งเสริมการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก งปม. 11,708,500 บ. (กคค.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การพัฒนามาตรการ กลไก และองค์ความรู้ในการดำเนินงานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก และพิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก 3,930,200 บ. 2. การสร้างต้นแบบเมืองที่เป็นมิตรต่อเด็กและเยาวชน 2,647,900 บ. 3. การเผยแพร่และสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับสิทธิเด็ก 3,636,900 บ. 4. การเจรจาและการประชุมนานาชาติว่าด้วยเรื่องเด็ก 1,493,500 บ. 1. ปัจจุบันการสร้างต้นแบบเมืองที่เป็นมิตร สำเร็จแล้วกี่แห่ง ที่ไหนบ้าง และมีแผนจะสร้างอีกกี่แห่ง ที่ไหนบ้าง 2. ผลสำเร็จของเมืองที่เป็นมิตรคืออะไร ความยั่งยืนของเมืองที่เป็นมิตรคืออะไร ต่อ

30 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
7. โครงการจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบาย และขับเคลื่อนการส่งเสริมพัฒนาและคุ้มครองเด็กและเยาวชน งปม. 22,644,900 บ. (กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. กิจกรรม “งานคณะกรรมการระดับชาติ” 2,969,300 บ. 2. กิจกรรม “ขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม พ.ร.บ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546” 12,687,600 บ. 3. กิจกรรม “การขับเคลื่อนแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ – 2564 สู่การปฏิบัติ” 1,519,400 บ. 4. กิจกรรม “งานสมัชชาการพัฒนาการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ประจำปี 2560” 3,708,600 บ. 5. การจ้างเหมาเจ้าหน้าที่ประจำโครงการฯ 540,000 บ. 6. กิจกรรม “การจัดทำเอกสารและสื่อที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม พัฒนา และคุ้มครองเด็กและเยาวชน” 1,220,000 บ. 1. สถิติประเด็น ข้อเสนอเชิงนโยบายที่จะนำเสนอผ่านคณะกรรมการ 2. ในปี 60 มีประเด็น ข้อเสนอเชิงนโยบายที่จะนำเสนอผ่านคณะกรรมการกี่เรื่อง อะไรบ้าง 3. มีประเด็นใดบ้างที่ได้นำไปขับเคลื่อน ต่อ

31 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
8. โครงการขับเคลื่อนนโยบายตามพันธกรณีและกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ งปม. 2,106,000 บ. (กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ปี 59 และ 60 มีประเด็นอะไรบ้างเกี่ยวข้องกับ ดย. และมีปัญหาอุปสรรค หรือไม่ อย่างไรในการดำเนินงาน 1. การประชุม/สัมมนา เข้าร่วมกิจกรรมภายใต้กรอบความร่วมมือ ข้อตกลง อนุสัญญาและพันธกรณีระหว่างประเทศ 1,275,200 บ. - กรอบความร่วมมือสหประชาชาติ - กรอบความร่วมมืออาเซียนและประเทศคู่เจรจา 2. การขับเคลื่อนและดำเนินงานตามข้อตกลง อนุสัญญาและพันธกรณีระหว่างประเทศ 696,000 บ. 3. งานวิเทศสัมพันธ์ 134,800 บ. ต่อ

32 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
9. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และบุคลากรด้านเด็กและเยาวชน งปม. 3,220,800 บ. (กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม เป้าหมายในการจัดพิมพ์รายงาน การพัฒนาเด็กและเยาวชน คืออะไร ช่องทางการเผยแพร่ เผยแพร่ให้ใคร จำนวนเท่าไหร่ 1. การบริหารจัดการความรู้ด้านเด็กและเยาวชนในองค์กร 1,157,600 บ. 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการการสังเคราะห์ข้อมูลด้านสังคมและการนำไปใช้และการจัดทำยุทธศาสตร์การวิจัยของ ดย. 249,200 บ. 3. การจัดทำและจัดพิมพ์รายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชนประจำปี พ.ศ ,214,000 บ. 4. การศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน 600,000 บ. ต่อ

33 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
10. โครงการจัดทำยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผลขององค์กร งปม. 6,000,000 บ. (กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การขับเคลื่อนกิจกรรมสนับสนุนบริหารยุทธศาสตร์ 4,000,000 บ. - การสื่อสารแผนกลยุทธ์ ดย. - การจัดทำคำของบประมาณประจำปี - การจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี การจัดทำแผนการบริหารความเสี่ยง การศึกษา ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ การจัดทำรายงานประจำปี การพัฒนาระบบการจัดทำงบประมาณและการติดตามประเมินผลออนไลน์ 2. การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ 2,000,000 บ. การศึกษาการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการโดยผู้ประเมินอิสระ ต่อ

34 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ทำอะไร อย่างไร ได้อะไร
11. โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศของกรมกิจการเด็กและเยาวชนเพื่อส่งเสริมสวัสดิภาพ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิแก่เด็ก เยาวชน งปม. 4,587,000 บ. (กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ทำอะไร อย่างไร ได้อะไร 1. การพัฒนาระบบสารสนเทศของ ดย. 3,587,000 บ. 2. จัดทำแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ฉบับที่ 1) ของ ดย. พ.ศ ,000,000 บ. ต่อ

35 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
4 การส่งเสริมศักยภาพเด็กและเยาวชน งปม ลบ โครงการ 1 12. โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชน งปม. 20,592,800 บ. (กสพ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1 การจัดงานวันเยาวชนแห่งชาติ 13,587,600 บ. 2 การส่งเสริมกิจกรรมดนตรีไทย 1,011,000 บ. 3 การจัดงานวันเด็กแห่งชาติ 2,500,000 บ. 4 การผลิตสื่อการเรียนรู้/องค์ความรู้/คู่มือ/แนวทาง การพัฒนาเด็กและเยาวชน 700,000 บ. 5 ความร่วมมือกับภาครัฐและภาคเอกชน 2,614,000 บ. 5.1 ค่ายลมหายใจไร้มลทิน 5.2 การคัดเลือกยุวสตรีดีเด่น 5.3 การประกวดเล่าเรื่องประสบการณ์เยาวชน 5.4 ค่ายมูลนิธิเยาวชนนักพัฒนา 5.5 กิจกรรมความร่วมมือกับภาครัฐและเอกชน 6 จัดจ้างเหมาเจ้าหน้าที่โครงการฯ 180,000 บ. ในปี 2560 กิจกรรมวันเยาวชนมีอะไรโดดเด่น แตกต่างจากการดำเนินงานที่ผ่านมาหรือไม่ อย่างไร ต่อ

36 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
13. โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน งปม. 14,279,000 บ. (กสพ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. ความสำเร็จเชิงผลลัพธ์ที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างประเทศที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันมีอะไรบ้าง 2. ในปี 2560 มีประเด็นความร่วมมือระหว่างประเทศที่สำคัญคืออะไร 1. เรือเยาวชนเอเชียอาคเนย์ 4,027,000 บ.  2. มิตรภาพเยาวชนล้านช้าง – แม่โขง (มิตรภาพเยาวชนอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง) 4,274,000 บ. 3. การพัฒนาเด็กและเยาวชนภายใต้กรอบความร่วมมือ และพันธกรณีระหว่างประเทศ 4,140,500 บ. 4. ความร่วมมือระหว่างไทย-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์เพื่อให้เยาวชนได้รับ VISA ท่องเที่ยวและทำงาน 1,657,500 บ. 5. พนักงานจ้างเหมาโครงการ 180,000 บ. ต่อ

37 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
14. โครงการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเยาวชนในประชาคมอาเซียน งปม. 3,800,000 บ. (กยผ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การดำเนินงานที่ผ่านมาของศูนย์ข่าวเด็กและเยาวชนอาเซียน มีอะไรบ้าง ผลสำเร็จคืออะไร มีปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานหรือไม่ อย่างไร 2. ASEAN Youth นำไปสู่ความสำเร็จ เชิงรูปธรรมของเด็กไทยอย่างไร ผลลัพธ์ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นคืออะไร 3. SDGs มีที่มาอย่างไร มีแนวทาง แผนการดำเนินงานอย่างไร 1. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การติดตามและส่งเสริมความเข้มแข็งในจัดตั้งศูนย์ข่าวเด็กและเยาวชนอาเซียน “Workshop on ASEAN Children and Youth NEWS Centre Strengthening” 1,320,000 บ. 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการ “เยาวชนอาเซียนสู่การเป็น ผู้ประกอบธุรกิจเพื่อสังคม : ASEAN Youth towards Social Entrepreneurs/Startups ” 480,000 บ. 3. การประชุมสุดยอดเด็กและเยาวชนเพื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ยังยืน (Youth Summit for SDGs) 1,500,000 บ. 4. การจัดงานรณรงค์ต่อต้านความรุนแรงต่อเด็ก 500,000 บ. ต่อ

38 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
15. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ งปม. 3,924,400 บ. (กสพ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การสำรวจพื้นที่ดำเนินการ 50,000 บ. 2. การสนับสนุนงบประมาณให้ พมจ. จัดกิจกรรม 319,500 บ. 3. การประชุมจังหวัดแลกเปลี่ยนเพื่อเตรียมความพร้อม 33,000 บ. 4) การปฐมนิเทศครอบครัวรับรอง 91,000 บ. 5) การจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เด็กต่างวัฒนธรรม (ประกอบด้วย ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัฒนธรรมระหว่างภาค การพักกับครอบครัวรับรอง และการสรุปบทเรียนประเมินผล) 2,325,000 บ. 6) การอบรมเชิงปฏิบัติการ “รวมพลังเกนนำเด็กจากอดีตสู่อนาคตเพื่อสร้างสรรค์สังคม” 616,500 บ. 7) การประชุมติดตาม ประเมินผล 309,400 บ. 8) จ้างลูกจ้างปฏิบัติราชการ 180,000 บ. ต่อ

39 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
16. โครงการทุนการศึกษาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร งปม. 14,000,000 บ. (กสพ.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม จัดกิจกรรม “ค่ายเสริมพลัง สานฝันเยาวชนคนเก่ง” สำหรับนักเรียนทุนพระราชทานฯ 14,000,000 บ. (1) ประชุมคณะอนุกรรมการเพื่อวางแผนและติดตาม ผลการดำเนินงาน (2) การจัดค่ายการเรียนรู้ ที่เน้นการทำกิจกรรมเป็นทีม แบบมีส่วนร่วม (3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น การเสริม ประสบการณ์ชีวิตและการเรียนสายสามัญ สายอาชีวะ ต่อ

40 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
5 การคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน งปม ลบ โครงการ 1 17. โครงการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก และเยาวชน งปม. 7,400,000 บ. (กคค.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. ปัญหาความรุนแรงมีกี่พื้นที่ 2. มีเป้าหมายที่จะดำเนินการอีกกี่พื้นที่ 3. วัดผลสำเร็จของโครงการอย่างไร 4. มีการนำผลการประเมินของโครงการมาพัฒนา ปรับปรุง วิธีการดำเนินงานหรือไม่อย่างไร 5. ปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและเยาวชน ในมิติภาพรวมของสังคม ที่ไม่ยึดพื้นที่ในการดำเนินงาน ดย. มีแนวทาง แผนการดำเนินงานอย่างไร เพื่อให้สังคมได้รับความรู้ มีความรู้ เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหาดังกล่าว 1. การสนับสนุนงบประมาณบ้านพักเด็กและครอบครัวในการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองเรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กโดยไม่ใช้ความรุนแรง (พื้นที่ปี 2559) 272,800 บ. - สนับสนุนงบประมาณบ้านพักเด็กและครอบครัวในการให้ความรู้แก่พ่อแม่ผู้ปกครองเรื่องการอบรมเลี้ยงดูเด็กโดยไม่ใช้ความรุนแรง 4 พื้นที่เดิม คือ อุดรธานี พะเยา กาญจนบุรี ระนอง จังหวัดละ 68,200 บาท 2. กิจกรรมการส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายวิทยากรแกนนำ 5,714,100 บ. 3. จัดจ้างผลิตเอกสารที่เกี่ยวข้อง 233,100 บ. 4. จัดจ้างในหลักสูตรและคู่มือการปฏิบัติงานของนักเฝ้าระวังความรุนแรงต่อเด็กในชุมชน 1,000,000 บ. 5. ค่าจ้างเหมาบริการลูกจ้างโครงการ 180,000 บ. ต่อ

41 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ทำอะไร อย่างไร ได้อะไร
18. โครงการคุ้มครองสวัสดิภาพและพิทักษ์สิทธิเด็กและเยาวชน งปม. 7,190,600 บ. (กคค.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ทำอะไร อย่างไร ได้อะไร 1. การอบรมสร้างความตระหนักเรื่อง “สิทธิเด็กและการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในชุมชน” 1,634,000 บ. 2. การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแนวทางปฏิบัติงานคุ้มครองเด็กและเยาวชนในชุมชน และการลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการขับเคลื่อนการพัฒนาและคุ้มครองเด็กในระดับตำบล 1,949,500 บ. 3. การสนับสนุนงบประมาณให้ สนง.พมจ. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในชุมชน 820,000 บ. 4. การจัดทำเอกสาร/สื่อ/องค์ความรู้ในการปฏิบัติการคุ้มครองเด็กและเยาวชนในชุมชน 556,200 บ. 5. การติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนรูปแบบการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนคุ้มครองเด็ก 360,000 บ. 6. การจัดจ้างเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน 180,000 บ. ต่อ

42 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
6 การบริการสวัสดิการสังคม งปม ลบ โครงการ และ คชจ. จำเป็น 1 19. การให้บริการสวัสดิการสังคมแก่เด็กในสถาบัน งปม. 371,894,400 บ. (กสก.) (งบลงทุน 51,499,700 บ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. รับเด็กที่ประสบปัญหาทางสังคมในสถานรองรับเด็ก 4 ประเภท 1,000,000 บ. 2. สืบเสาะข้อเท็จจริงและวินิจฉัยปัญหา 1,015,000 บ. 3. จัดบริการทดแทนในรูปแบบสวัสดิการ 281,000,000 บ. 4. เตรียมความพร้อมเด็กโดยการเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ชีวิตเด็กใน สถานสงเคราะห์ก่อนพ้นการอุปการะ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ 1,450,000 บ. 5. การคืนสู่ครอบครัวในรูปแบบครอบครัวเดิมและการจัดหาครอบครัวทดแทน ครอบครัวอุปการะ 12,000,000 บ. 6. ปรับปรุง ซ่อมแซม หรือก่อสร้าง 51,499,700 บ. 7. เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในการจัดการบริการให้ได้มาตรฐาน 1,500,000 บ. 8. ฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงาน 1,066,500 บ. 9. จัดบริการอุปการะเลี้ยงดูเด็กในสถาบัน เพาะกล้าคุณธรรม 15,785,000 บ. 10. ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ชุมชน 2,250,000 บ. 11. การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 1,528,200 บ. 12. การพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงาน 1,800,000 บ. ต่อ

43 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
20. การสงเคราะห์เด็กเอดส์ในสถานสงเคราะห์ งปม. 16,626,400 บ. (กสก.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม จัดบริการอุปการะเลี้ยงดูเด็กที่ติดเชื้อเอดส์ ในสถานสงเคราะห์ เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลที่เหมาะสม ทั้งในด้านปัจจัย 4 โดยการวางแผนการพัฒนาเด็กรายบุคคล และดำเนินการปรับสภาพร่างกาย/จิตใจ บำบัด ฟื้นฟู พัฒนา การรักษาพยาบาล การให้ศึกษา การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ฯลฯ ต่อ

44 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
21. การบริการสวัสดิการแก่เด็กยากจน งปม. 174,620,000 บ. (กสก.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม จัดบริการสงเคราะห์เด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจน เพื่อบรรเทา ความเดือดร้อนเฉพาะหน้า โดยมีขั้นตอนวิธีการสงเคราะห์ ดังนี้ 1. ให้การช่วยเหลือเป็นเงิน เพื่อเป็นค่าเลี้ยงดูหรือค่าใช้จ่าย ต่างๆ ของเด็กและครอบครัวของเด็ก ในกรณีที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนหรือเกี่ยวเนื่องกับสวัสดิภาพของเด็กโดยตรง เช่น เงินทุนประกอบอาชีพ ค่ารักษาพยาบาล ในวงเงินครั้งละ 1,000 บาท ต่อเด็ก 1 คนในครอบครัว และไม่เกิน 3,000 บาท สำหรับครอบครัวที่มีเด็กเกินกว่า 1 คน 2. ให้การช่วยเหลือเป็นสิ่งของ เช่น เครื่องอุปโภค บริโภค อุปกรณ์ทางการศึกษา เครื่องแบบนักเรียน แป้งนมเลี้ยงเด็ก เป็นต้น ในวงเงินครั้งละ 1,000 บาท ต่อเด็ก 1 คนในครอบครัว และไม่เกิน 3,000 บาท สำหรับครอบครัวที่มีเด็กเกินกว่า 1 คน 3. ช่วยเหลือเป็นเครื่องแบบนักเรียน อุปกรณ์ทางการเรียน เช่น สมุด ดินสอ ไม้บรรทัด เป็นต้น 1. ที่ผ่านมามีทะเบียน หลักฐาน การจ่ายเงินที่สามารถตรวจสอบย้อนหลังได้หรือไม่ 2. มีระบบควบคุม ตรวจสอบ การจ่ายเงินให้กับกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ อย่างไร ต่อ

45 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
7 การเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ชีวิตแก่เด็ก งปม ลบ โครงการ 1 22. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่เด็กในชุมชนแออัด/แหล่งก่อสร้าง งปม. 11,300,000 บ. (กสก.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้และทักษะในการเลี้ยงดูแก่พ่อ แม่ ผู้ปกครองในชุมชนแออัด/แหล่งก่อสร้าง 1,324,400 บ. 2. เสริมสร้างความรู้การเลี้ยงดูเด็กและจัดบริการหน่วยเคลื่อนที่ (Mobile Team) 2,373,600 บ. 3. จัดกิจกรรมพัฒนาเด็กปฐมวัยในชุมชนแออัด/แหล่ง ก่อสร้าง 7,452,00 บ. 4. ติดตามประเมินผลและสรุปผลการดำเนินงาน ,000 บ. ต่อ

46 1 23. โครงการเสริมสร้างทักษะและกระบวนการเรียนรู้แก่เด็กในสังคมอาเซียน งปม. 12,271,200 บ. (กสก.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ทำอะไร อย่างไร ได้อะไร ประเมินผลสำเร็จการดำเนินโครงการอย่างไร 1. เสริมสร้างศักยภาพด้านอาเซียนให้แก่เด็ก เพื่อเสริมสร้างความพร้อมและทักษะในการดำรงชีวิต ในประชาคมอาเซียน และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ที่สร้างสรรค์ไปสู่สังคม เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกัน ปัญหาทางสังคม 11,999,000 บ. 2. ติดตามและประเมินผล 272,200 บ. ต่อ

47 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
24. โครงการความร่วมมือระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดสวัสดิการสำหรับเด็ก งปม. 1,400,000 บ. (กสก.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติงาน (On-Site Training) ด้านการจัดสวัสดิการสำหรับเด็ก ในสถาน สงเคราะห์ตามบันทึกข้อตกลงระหว่างประเทศไทยและ สมาคมเพื่อการดูแลเด็ก ในสถานสงเคราะห์แห่งประเทศ ญี่ปุ่น (JSRCC) 1,400,000 บ. ต่อ

48 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
1 25. โครงการเสริมสร้างทักษะด้านอาชีพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง งปม. 11,050,000 บ. (กสก.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. เสริมสร้างทักษะด้านอาชีพตามแนวเศรษฐกิจ พอเพียงแก่เด็ก เพื่อให้เด็กได้รับการพัฒนาทักษอาชีพ และรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีรายได้เสริม ในช่วงปิดภาคเรียน และสามารถพึ่งพาตนเองได้ต่อไป ,008,000 บ. 2. ติดตามและประเมินผล 42,000 บ. ต่อ

49 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
26. โครงการการพัฒนาทักษะการดำเนินชีวิตเด็กเร่ร่อน งปม. 3,000,000 บ. (กสก.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การประชุมร่วมกับเครือข่ายเพื่อพัฒนาแนวทางการ ทำงานกับเด็กเร่ร่อน 237,200 บ 2. จัดเวทีสาธารณะรับฟังความคิดเห็นของเด็กเร่ร่อน 85,700 บ. 3. จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตและปรับสภาพร่างกายและ จิตใจของเด็กเร่ร่อน 2,084,100 บ. 4. วางแผนกิจกรรมทางเลือกให้แก่เด็กเร่ร่อน สำหรับสำหรับ การใช้ชีวิตอยู่ในสังคม 550,800 บ. 5. ติดตามและประเมินผล 42,200 บ. ต่อ

50 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม เป้าหมายท้าทายในการดำเนินงาน ในอนาคต
8 การคุ้มครองและพัฒนาเด็กในครอบครัวทดแทน งปม ลบ. 2 โครงการ 1 27. โครงการคุ้มครองและพัฒนาเด็กในครอบครัวบุญธรรม งปม. 12,147,900 บ. (ศบธ.) กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม - จัดหาครอบครัวบุญธรรมทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่เหมาะสมให้แก่เด็กกลุ่มเป้าหมายโดยผ่านกระบวนการทางสังคมสงเคราะห์และกฎหมาย และผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรม คณะอนุกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมส่วนกลาง สำหรับส่วนภูมิภาคจะต้องผ่านการพิจารณาของคณะอนุกรรมการการรับเด็กเป็นบุตรบุญธรรมประจำจังหวัด เพื่อให้เด็กกลุ่มเป้าหมายได้รับการคุ้มครองและมีการพัฒนาที่เหมาะสมในทุก ๆ ด้าน - การติดตามและประเมินผลการรับเด็กทั้งครอบครัว ชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป้าหมายท้าทายในการดำเนินงาน ในอนาคต ต่อ

51 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
28. โครงการเงินอุดหนุนเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ งปม. 115,303,400 บ. (กสก.) 1 กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม ให้การช่วยเหลือแก่เด็กที่ขาดบิดามารดา โดยจัดหาครอบครัวอุปถัมภ์ ซึ่งเป็นเครือญาติของเด็กให้ได้รับอุปการะเลี้ยงดูเด็ก โดยครอบครัวจะได้รับการสนับสนุนเงินช่วยเหลือ รายละ 2,000 บาท 1. สถิติการจ่ายเงินให้กับกลุ่มเป้าหมาย 2. มีระบบหรือวิธีการจ่ายเงินอย่างไร 3. ความสำเร็จของโครงการคืออะไร 4. มีการประเมินความสำเร็จของโครงการหรือไม่ อย่างไร ผลการประเมินเป็นเช่นไร 5. มีเป้าหมายที่จะจ่ายเงินเท่าไหร่ 6. กลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับเงินค้นหาอย่างไร ต่อ

52 ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม
9 การจัดบริการเพื่อช่วยเหลือและคุ้มครอง งปม ลบ. 1 โครงการ และ คชจ. จำเป็น 1 29. โครงการคุ้มครองสวัสดิภาพและจัดสวัสดิการสังคมแก่ผู้ประสบปัญหาทางสังคมในบ้านพักเด็กและครอบครัว งปม. 316,094,400 บ. (กคค.) งบลงทุน 160,627,500 บ. กิจกรรม ประเด็นที่คาดว่าจะซักถาม 1. การสนับสนุนงบประมาณในการคุ้มครองสวัสดิภาพและจัดบริการสวัสดิการให้แก่ผู้รับบริการในบ้านพักเด็กและครอบครัว 77 แห่ง 302,923,400 บ. 2. การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการคุ้มครองสวัสดิภาพและให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้รับบริการในบ้านพักเด็กและครอบครัว 3,000,000 บ. 3. การพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานศูนย์ประชาบดี ,000,000 บ. 4. การพัฒนามาตรฐานการจัดสวัสดิการบ้านพักเด็กและครอบครัว 6,000,000 บ. 5. การติดตามผลการดำเนินงานบ้านพักเด็กและครอบครัว 375,000 บ. 6) จัดจ้างเจ้าหน้าที่โครงการ 720,000 บ.

53 แผนงานบุคลากรภาครัฐ งปม. 576.0860 ลบ. งปม. 178.0182 ลบ.
งปม ลบ. ข้าราชการ คน งปม ลบ. พนักงานราชการ 1,431 คน งปม ลบ. ลูกจ้างประจำ คน ค่าตอบแทนอื่นๆ ลบ.

54 กองทุนคุ้มครองเด็ก งปม. 75.0000 ลบ.
การสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพ ,500 คน การสนับสนุนโครงการที่ปฏิบัติงานด้านเด็ก โครงการ


ดาวน์โหลด ppt การประชุมซักซ้อมเตรียมการชี้แจงงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google