งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560

2 แผนผังการเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนางานชลประทาน
1 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (6 ด้าน) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ ) การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ 12 (10 ด้าน ) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (พ.ศ ) การจัดการอุปโภคบริโภค การสร้างความมั่นคงของน้ำภาคการผลิต (เกษตรและอุตสาหกรรม) การบริหารจัดการน้ำท่วมและอุทกภัย การจัดการคุณภาพน้ำ การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน การบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์ ฯ น้ำ (6 ด้าน) ยุทธศาสตร์ กษ. 20 ปี (5 ด้าน) ความมั่นคง การสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาศักยภาพคน การสร้างโอกาสความเสมอภาคทางสังคม การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน พัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ 20 ปี (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี (พ.ศ ) “องค์กรอัจฉริยะ ที่มุ่งสร้าง ความมั่นคงด้านน้ำ (Water Security) เพื่อเพิ่มคุณค่าการบริการ ภายในปี 2579” ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา และเป้าหมายในอนาคต รวม 20 ปี (ปี ) พท.ชป. เพิ่มขึ้น ล้านไร่ ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น 13,243 ล้าน ลบ.ม. รวม 12 ปี (ปี ) พท.ชป. เพิ่มขึ้น 8.7 ล้านไร่ ปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น 4,800 ล้าน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทาน (ล้านไร่) ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) ปี เพิ่มขึ้น 1.59 (31.57) เพิ่มขึ้น 1, (80,661.80) ปี 2560 – 2564 เพิ่มขึ้น 4.35 (35.92) เพิ่มขึ้น 4,245 (84,906.80) ปี 2560 เพิ่มขึ้น 0.79 เพิ่มขึ้น พื้นที่ชลประทาน (ล้านไร่) ปริมาณน้ำ (ล้าน ลบ.ม.) ปี เพิ่มขึ้น 3.45 (39.37) เพิ่มขึ้น 5,298 (90,204.80) ปี เพิ่มขึ้น 5.65 (45.02) เพิ่มขึ้น 2,000 (92,204.80) ปี เพิ่มขึ้น 4.49 (49.51) เพิ่มขึ้น 1,700 (93,904.80) หมายเหตุ : ปี เพิ่มพื้นที่ ชป ล้านไร่ ปริมาณน้ำ ล้าน ลบ.ม.

3 งานนโยบายที่สำคัญ กษ. (ยกกระดาษ A4) การพัฒนาระบบกระจายน้ำและระบบส่งน้ำ
2 การพัฒนาระบบส่งน้ำ/ระบบกระจายน้ำ ปี ผลสัมฤทธิ์ ปี 2557 -2559 งบประมาณปี 2560 งบประมาณปี 2561 ปี 2562 ปี รวมปี แผนพัฒนาฯ ฉบับ 12 ( ) แผนน้ำ ( ) ปี 2560 (พ.ร.บ.) (เพิ่มเติม) รวม ปี 2561 (พัฒนาภาค) จำนวน รายการ 2,186 211 303 514 271 206 477 857 1,026 5,008 พท. ชป. (ไร่) 1,593,933 434,439 360,828 795,267 280,888 146,336 427,224 987,268 1,623,149 5,220,834 1,750,000 8,700,000 ความจุ (ล้าน ลบ.ม.) 1,005.88 437.74 39.81 477.55 814.67 - 407.10 2,958.89 5,467.26 4,800.00 ครัวเรือน 718,510 97,084 93,937 191,021 71,703 13,700 85,403 265,322 394,834 1,655,087 หมายเหตุ : ความจุเก็บกักในปี 2561 จำนวน ล้าน ลบ.ม. จะเกิดขึ้นเมื่อโครงการดำเนินการแล้วเสร็จ ในปี 2561 จะสามารถเพิ่มความจุ ได้ ล้าน ลบ.ม.

4 3

5 Smart Agricultural Curve
4 กรมชลประทาน Growth ปี ปีแห่งการเดินหน้า เร่งเครื่อง สู่เกษตร 4.0 (Marching & Accelerating toward Agriculture 4.0) 1. ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 3,404 รายการ 2. แปลงใหญ่ 67 แปลง 3. สนับสนุนน้ำในพื้นที่ ส.ป.ก. 3 แปลง 4. เกษตรอินทรีย์ 5 กลุ่ม (งบ ชป. 3 กลุ่ม, งบจังหวัด 2 กลุ่ม) 5. Zoning by Agi- Map 200 โครงการ 6. ศพก. 882 ศูนย์ ปี 2561 ปีแห่งการยกระดับคน การบริหารจัดการ มาตรฐานสินค้าเกษตร สู่เกษตร (Enhancing Man, Management and Standard toward Agriculture 4.0) เป้าหมาย 1. เพิ่มพื้นที่ชลประทานและปริมาณน้ำเก็บกัก 2. บริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทานและสนับสนุนช่วยเหลือพื้นที่นอกเขตชลประทาน 3. ป้องกันภัยอันเกิดจากน้ำในพื้นที่ชลประทาน สนับสนุนช่วยเหลือพื้นที่นอกเขตชลประทาน พื้นที่ชุมชน และพื้นที่เศรษฐกิจ แนวคิด 1. ดำเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์บริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ แผนพัฒนา ฯ 12 ยุทธศาสตร์กระทรวง 2. พัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ 4. ป้องกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ 5. สร้างเครือข่าย/การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการน้ำ 6. ปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ นโยบายยกกระดาษ A4 บวก (A4 Plus Policy) นโยบายกระดาษ A4 + บริหารจัดการสินค้าเกษตร ครบวงจร + เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ ตัวชี้วัด พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 2,610,417 ไร่ เพิ่มความจุเก็บกัก 3, ล้าน ลบ.ม. พื้นที่เกษตรในเขตชลประทานได้รับน้ำไม่น้อยกว่า ล้านไร่ เป้าหมาย 1. เพิ่มพื้นที่ชลประทานและปริมาณน้ำเก็บกัก 2. บริหารจัดการน้ำในพื้นที่ชลประทานและสนับสนุนช่วยเหลือพื้นที่ นอกเขตชลประทาน 3. ป้องกันภัยอันเกิดจากน้ำในพื้นที่ชลประทาน สนับสนุนช่วยเหลือพื้นที่นอกเขตชลประทาน พื้นที่ชุมชน และพื้นที่เศรษฐกิจ แนวคิด ดำเนินงานสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แผนพัฒนา ฯ 12 ยุทธศาสตร์กระทรวง 2. พัฒนาแหล่งน้ำตามศักยภาพของลุ่มน้ำ 3. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการ 4. ป้องกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ 5. สร้างเครือข่าย/การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการน้ำ 6. ปรับเปลี่ยนสู่องค์กรอัจฉริยะ นโยบายยกกระดาษ A4 บวก (A4 Plus Policy) นโยบายกระดาษ A4 + เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ + การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม ตัวชี้วัด พื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้น 427,224 ไร่ เพิ่มความจุเก็บกัก ล้าน ลบ.ม. พื้นที่เกษตรในเขตชลประทานได้รับน้ำไม่น้อยกว่า ล้านไร่ นโยบาย ยกกระดาษ A4 ปี 2560 ปีแห่งการยกระดับมาตรฐานการเกษตรสู่ความยั่งยืน (คุณภาพ ประสิทธิภาพ) 1. ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 965 รายการ 2. แปลงใหญ่ 69 แปลง 3. สนับสนุนน้ำในพื้นที่ ส.ป.ก. 3 แปลง 4. เกษตรอินทรีย์ 2 กลุ่ม 5. Zoning by Agi- Map - 6. ศพก. 882 ศูนย์ 1. ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 514 รายการ 2. แปลงใหญ่ 149 แปลง 3. สนับสนุนน้ำในพื้นที่ ส.ป.ก. 3 แปลง 4. เกษตรอินทรีย์ 12 กลุ่ม 5. Zoning by Agi- Map 389 โครงการ 6. ศพก. 882 ศูนย์ ปี 2559 ปีแห่งการลดต้นทุน และ เพิ่มโอกาสในการแข่งขันสินค้าเกษตร August 2558 October 2559 October 2560 October 2561 – September 2564 Times

6 สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
รวมงบประมาณกรมชลประทาน ทั้งสิ้น 56, ล้านบาท งบปี 61 (เพิ่มเติม) 6,880 ล้านบาท แผนงานแก้ไขอุทกภัยและภัยแล้ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 8 พื้นที่ (มติ ครม. วันที่ 22 ส.ค. 60) กลุ่มงบประมาณ Function 10, ล้าน บาท Agenda 38, ล้านบาท Area 7, ล้านบาท แผนงาน 1.แผนงานบุคลากร 6, ล้านบาท 2.แผนงานพื้นฐาน 2, ล้านบาท 3.แผนงานยุทธศาสตร์ 1, ล้านบาท 1.แผนงานบูรณาการการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำ กรมชลประทาน 37, ล้านบาท กองทุนจัดรูปที่ดิน ล้านบาท 1.แผนงานบูรณาการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งและยั่งยืนให้กับ เศรษฐกิจภายในประเทศ 7, ล้านบาท จำนวนพื้นที่ชลประทานที่บริหารจัดการน้ำ ล้านไร่, พื้นที่ชลประทานได้รับน้ำต่อพื้นที่เป้าหมาย ร้อยละ 100, จำนวนคนได้รับประโยชน์จากศูนย์ 20,000 คน, แหล่งน้ำสนับสนุน พรด. 74 แห่ง พื้นที่ชลประทาน 280,888 ไร่ , พื้นที่รับประโยชน์ 1 ล้านไร่, ความจุ ล้าน ลบ.ม., ครัวเรือนรับประโยชน์ 71,703 ครัวเรือน พื้นที่ได้รับประโยชน์จากการจัดรูปที่ดิน จัดระบบน้ำ 116,300 ไร่ พื้นที่ชลประทาน 146,336 ไร่, ครัวเรือนรับประโยชน์ 13,700 ครัวเรือน ระบบส่งน้ำ/ระบบกระจายน้ำ ก่อสร้างหัวงานพร้อมระบบส่งน้ำ และปรับปรุง/ซ่อมแซม/ขุดลอก/ระบบส่งน้ำที่มีอยู่เดิม ใน 77 จังหวัด เพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ 361,189 ไร่ วงเงินรวม 17, ลบ. เกษตรแปลงใหญ่ จัดหาแหล่งน้ำสนับสนุนพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ 106 แปลง (แปลงใหม่ 67 แปลง, แปลงต่อเนื่อง 39 แปลง) ใน 43 จังหวัด วงเงิน 3, ล้านบาท แบ่งเป็น (1) การก่อสร้างระบบกระจายน้ำ วงเงิน 2, ล้านบาท (2) ก่อสร้างและปรับปรุงแหล่งน้ำนอกเหนือจากข้อ (1) วงเงิน 1, ล้านบาท เพิ่มพื้นที่ชลประทาน 66,035 ไร่ และเพิ่มพื้นที่รับประโยชน์รวม 109,231 ไร่ พื้นที่ ส.ป.ก. ยึดคืน (อยู่ในนโยบายระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ ลบ.) ก่อสร้างฝายบ้านพุไม้แดงพร้อมระบบส่งน้ำ วงเงิน ล้านบาท ก่อสร้างสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ำ 2 แห่ง บ้านควนสินชัย ล้านบาท แปลงชัยบุรี ล้านบาท ศูนย์เรียนรู้ ศพก. 1) จัดทำข้อมูลประจำศูนย์ ศพก. 2) ถ่ายทอดความรู้ร่วมกับหน่วยงานอื่นใน 882 อำเภอ วงเงิน 8.82 ล้านบาท (ศูนย์ละ 10,000 บาท) Design by Agri-Map ก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดเล็ก ที่ออกแบบโดยนำ Agri-Map มาเป็นข้อมูล (151 โครงการ) สามารถเพิ่มพื้นที่เป้าหมายจากเดิม 172,175 ไร่ เป็น 209,435 ไร่ (เพิ่มขึ้น 37,260 คิดเป็นร้อยละ ของเป้าหมายเดิม) นำ Agri-Map ไปใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบอย่างต่อเนื่อง (200 โครงการ) วงเงิน 42 ล้านบาท เกษตรอินทรีย์ (อยู่ในนโยบายระบบส่งน้ำฯ 19ลบ.) จัดหาแหล่งน้ำเพื่อสนับสนุนให้แก่กลุ่มเกษตรอินทรีย์ โดยก่อสร้าง/ปรับปรุงระบบชลประทาน สนับสนุน กลุ่มเกษตรอินทรีย์ จ.ชัยภูมิ 3 กลุ่ม จ.เชียงใหม่ 2 กลุ่ม รวมงบประมาณ 35 ล้านบาท (งบ ชป. 27 ล้านบาท + งบจังหวัด 8 ล้านบาท) นโยบาย กระทรว งฯ

7 Form 1 Form 1 เป้าหมาย ปี 2561 ปีแห่งการยกระดับคน การบริหารจัดการ มาตรฐานสินค้าเกษตร สู่เกษตร 4.0 6 ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ ปี แหล่งน้ำใหม่พร้อมระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ ปี 61 เป้าหมาย ปี 59 (พื้นที่ ชป. 467,648 ไร่ /ความจุ ล้าน ลบ.ม.) ปี 60 ( พื้นที่ ชป. 795,267 ไร่/ความจุ ล้าน ลบ.ม.) ปี 61 ( พื้นที่ ชป. 427,224 ไร่/ความจุ ล้าน ลบ.ม. ) กิจกรรมหลัก ก่อสร้างแหล่งน้ำและพื้นที่ชลประทาน บริหารจัดการน้ำ และการป้องกันความเสียหายและบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ นโยบาย ก่อสร้างระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ ในพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ และ สปก., นำ Agri – Map ออกแบบโครงการชลประทานขนาดเล็ก, แผนงาน / งบประมาณ ปี 2559 แผนงาน : บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปี 2560 แผนงาน : แผนบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ปี 2561 แผนงาน : แผนบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แผนงาน : แผนบูรณาการเสริมสร้างความเข้มแข็งฯ จำนวน วงเงิน (ล้านบาท) ผลสัมฤทธิ์ 965 รายการ 13,305.41 - พื้นที่ชลประทาน 467,648 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 523,447 ครัวเรือน 69 แปลง 603.54 - พื้นที่รับประโยชน์ 160,709 ไร่ 3 แปลง 83.20 - พื้นที่รับประโยชน์ 900 ไร่ - ความจุ ล้าน ลบ.ม. - ครัวเรือนรับประโยชน์ 320 ครัวเรือน 2 กลุ่ม 59.80 สนับสนุนระบบกระจายน้ำ - 20,355.32 882 ศูนย์ 4.41 34,411.68 - มีพื้นที่ชลประทาน+พื้นที่รับประโยชน์629,257 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 523,767 ครัวเรือน จำนวน วงเงิน (ล้านบาท) ผลสัมฤทธิ์ 514 รายการ 13,077.54 - พื้นที่ชลประทาน 795,267 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 191,535 ครัวเรือน 149 แปลง 2,913.26 - พื้นที่รับประโยชน์ 390,853 ไร่ 3 แปลง 478.00 - พื้นที่รับประโยชน์ 5,109 ไร่ - ความจุ 2.52 ล้าน ลบ.ม. - ครัวเรือนรับประโยชน์ 1,383 ครัวเรือน 12 กลุ่ม 186.79 สนับสนุนระบบกระจายน้ำ 389 โครงการ 30.47 - พื้นที่รับประโยชน์จาก 316,770 ไร่ เป็น 395,807 ไร่ (เพิ่มขึ้น 79,037 ไร่) - 15,371.60 882 ศูนย์ 8.82 32,066.48 - มีพื้นที่ชลประทาน+พื้นที่รับประโยชน์1,587,036 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 192,918 ครัวเรือน จำนวน วงเงิน (ล้านบาท) ผลสัมฤทธิ์ 3,404 รายการ 17,337.82 - พื้นที่ชลประทาน 427,224 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 85,403 ครัวเรือน 67 แปลง 3,507.01 - พื้นที่รับประโยชน์ 317,927 ไร่ 3 แปลง 268.96 - พื้นที่รับประโยชน์ 4,012 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 500 ครัวเรือน 5 กลุ่ม 27.00 สนับสนุนระบบกระจายน้ำ 151 โครงการ 200 โครงการ 4,361.88 42.00 - พื้นที่รับประโยชน์จาก 172,175 ไร่ เป็น 209,435 ไร่ (เพิ่มขึ้น 37,260 ไร่) - สามารถดำเนินการสำรวจออกแบบก่อสร้างโดยใช้ Agri-Map - 20,130.55 882 ศูนย์ 8.82 45,684.04 - มีพื้นที่ชลประทาน+พื้นที่รับประโยชน์958,598 ไร่ - ครัวเรือนรับประโยชน์ 85,903 ครัวเรือน 1. ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 2. เกษตรแปลงใหญ่ 3. พื้นที่ ส.ป.ก. 4. เกษตรอินทรีย์ 5. ใช้ Agri – Map ในการออกแบบโครงการ ปี 2559 พื้นที่ชลประทาน จำนวน 467,648 ไร่ งบประมาณ ตาม พ.ร.บ. และ กปร. ปี 2560 พื้นที่ชลประทาน จำนวน 864,299 ไร่ งบประมาณ ตาม พ.ร.บ. และ พ.ร.บ. เพิ่มเติม ปี 2561 พื้นที่ชลประทาน จำนวน 427,224 ไร่ งบประมาณ ตาม พ.ร.บ. และ ภาค แบ่งเป็น งบประมาณตาม พ.ร.บ. จำนวน 280,888 ไร่ งบประมาณ ภาค จำนวน 146,336 ไร่ 6. งานอื่นๆ ตามภารกิจกรมฯ 7. ศพก. รวมทั้งสิ้น

8 ภารกิจสนับสนุนนโยบาย รมว.กษ. ยกกระดาษ A4 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
7 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นโยบาย จำนวน งปม. (ล้านบาท) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 833 6,168.10 เกษตรแปลงใหญ่ (แปลง) 31 851.43 เกษตรอินทรีย์ (ใช้งบจังหวัด 8 ล้านบาท) 3 8.00 ภาคเหนือ นโยบาย จำนวน งปม.(ล้านบาท) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 788 5,804.16 เกษตรแปลงใหญ่ (แปลง) 11 60.56 เกษตรอินทรีย์ 2 - ภาคกลาง นโยบาย จำนวน งปม.(ล้านบาท) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 1,191 3,901.38 เกษตรแปลงใหญ่ (แปลง) 14 128.47 ส.ป.ก. ยึดคืน (แปลง) 1 13.16 ภาคตะวันออก นโยบาย จำนวน งปม.(ล้านบาท) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 177 1,175.11 งปม. (ล้านบาท) ภาคใต้ นโยบาย จำนวน งปม.(ล้านบาท) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 238 1,988.71 เกษตรแปลงใหญ่ (แปลง) 10 152.40 ส.ป.ก. ยึดคืน (แปลง) 2 255.80 รวมทั้งประเทศ 17, 3,507.01 268.96 27.00 4,361.88 42.00 8.82 จำนวน ระบบส่งน้ำ/ระบบกระจายน้ำ 3,404 รายการ 67 แปลง 3 แปลง 5 กลุ่ม 151 โครงการ 200 โครงการ 882 ศูนย์ เกษตรแปลงใหญ่ ส.ป.ก. ยึดคืน เกษตรอินทรีย์ (ได้รับงบจังหวัด 2 กลุ่ม วงเงิน 8 ล้านบาท) ภาคใต้ชายแดน นโยบาย จำนวน งปม.(ล้านบาท) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ 177 902.48 เกษตรแปลงใหญ่ (แปลง) 1 39.20 Design by Agri-Map - ก่อสร้าง ชป. เล็ก - ออกแบบ ศพก. รวมงานตามนโยบาย 25,553.49 Agri-Map : สนับสนุนงบประมาณการเตรียมความพร้อมโครงการ ศพก. : สนับสนุน ศพก. 882 ศูนย์ รวมงบประมาณ 8.82 ล้านบาท

9 โครงการสำคัญ ที่พร้อมดำเนินการปี 61-62
8 โครงการสำคัญ ที่พร้อมดำเนินการปี 61-62 ปตร.ศรีสองรัก จ.เลย : 61 ปรับปรุงคลองยม-น่าน :61+ แผนพัฒนาห้วยหลวงตอนล่าง : 61+ ปตร.แม่น้ำยม 3 แห่ง :61+ ปตร.น้ำพุง-น้ำก่ำ จ.สกลนคร : 61+ คลองบางบาล-บางไทร : 62 อ่างฯลำน้ำชี :61+ อ่างฯพระอาจารย์จื่อ :61+ อ่างฯลำสะพุง จ.ชัยภูมิ :62 ปรับปรุงคลองชัยนาท-ป่าสัก : 62 รวม 61 61+ 62 จำนวนเริ่ม (แห่ง) 581 46 322 213 จุ (ล้าน ลบ.ม.) 1,182 49 270 863 พท.ชป. (ล้านไร่) 0.691 0.577 0.169 0.464 พท.รับประโยชน์ 10.451 0.273 2.976 7.201 วงเงินในปีเริ่มต้น 3,272 19,386 47,449 วงเงินรวม 276,493 9,553 39,274 227,667 บรรเทาบางสะพาน จ.ประจวบฯ :61 อ่างฯป่าละอู (พรด.) จ.ประจวบฯ :61 บรรเทาอุทกภัยนครฯ :61+ บรรเทาอุทกภัย/ภัยแล้งทุ่งสง :61

10 เหนือ 10 แห่ง อีสาน 11 แห่ง กลาง/ออก/ตก 14 แห่ง ใต้ 11 แห่ง
9 ปตร.ศรีสองรัก จ.เลย ปตร.แม่น้ำอิง จ.เชียงราย 3 แห่ง อ่างฯห้วยน้ำลาย (พรด.) จ.เลย อ่างฯแม่แคม (พรด.) จ.แพร่ พัฒนาลุ่มน้ำห้วยหลวงตอนล่าง จ.หนองคาย แก้มลิง จ.สุโขทัย 2 แห่ง FS+EIAแผนพัฒนาลุ่มน้ำสงคราม ปรับปรุงคลองยม-น่าน ปตร.น้ำพุง-น้ำก่ำ จ.สกลนคร ปตร.แม่น้ำยม จ.พิษณุโลก/พิจิตร 3 แห่ง อ่างฯห้วยบ้านพุ่ม จ.สกลนคร กลาง/ออก/ตก 14 แห่ง อ่างฯ บริเวณต้นน้ำชี จ.ชัยภูมิ 3 แห่ง - อ่างฯลำสะพุง - อ่างฯพระอาจารย์จื่อ - อ่างฯลำน้ำชี จ.ชัยภูมิ ปตร. 8 แห่ง คลองบางบาล-บางไทร FS+EIA เพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนเขื่อนลำตะคอง ปรับปรุงคลองชัยนาท-ป่าสัก ใต้ 11 แห่ง บรรเทาอุทกภัยปราจีนบุรี เพิ่มระบายน้ำคลองทับมา จ.ระยอง พื้นที่ จ.ประจวบฯ - อ่างฯบ้านป่าละอู (พรด.)/อ่างฯไทรทอง - เพิ่มการระบายน้ำบางสะพาน เพิ่มความจุอ่างฯคลองระบม จ.ฉะเชิงเทรา อ่างฯวังโตนด จ.จันทบุรี (อ่างฯลุ่มน้ำวังโตนด 4 แห่ง) บรรเทาอุทกภัยนครฯ บรรเทาอุทกภัย/ภัยแล้งทุ่งสง พื้นที่ จ.เพชรบุรี - ปรับปรุงคลองระบายน้ำ/ส่งน้ำ 3 แห่ง คาบสมุทรสทิงพระ จ.สงขลา -คลองส่งน้ำ/คลองระบายน้ำ 3 แห่ง


ดาวน์โหลด ppt แผนการขับเคลื่อน Smart Agricultural Curve ปี 2561 (ระบบส่งน้ำและกระจายน้ำ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน วันพุธที่ 6 กันยายน 2560.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google