งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
การเชื่อมโยงงานตามนโยบาย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (เพื่อยกกระดาษ A4) และ การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ โดย บริสุทธิ์ เปรมประพันธ์ อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์

2 ช่วงที่ 1 การเชื่อมโยงงานตามนโยบาย ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (เพื่อยกกระดาษ A4)

3 พื้นที่เกษตรกรรม 149 ล้านไร่ รายได้
การผลิต สรุปข้อมูลรายได้เงินสดเกษตรกร ปีเพาะปลูก 2558/59 รายการ ประเทศ 1. รายได้เงินสดครัวเรือนเกษตร (2.+3.) 300,565 2. รายได้เงินสดทางการเกษตร 157,373 3. รายได้เงินสดนอกการเกษตร 143,192 4. ขนาดครัวเรือน (คน) 4.04 5. รายได้เงินสดครัวเรือนเกษตร ต่อคน (1./4.)(บาท) 74,368 6. รายได้เงินสดทางการเกษตร ต่อคน (2./4.)(บาท) 38,938 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (ข้อมูลเบื้องต้น) ชนิดพืช พื้นที่ให้ผลผลิต ปี 59 ผลผลิตต่อไร่ ต้นทุนการผลิต ปี 59 (ล้านไร่) (กก. ต่อ ไร่) (บาทต่อไร่) ข้าวนาปี 58.43 466 (ปี 56/57) 3,968 ข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ 7.03 676 (ปี 58) 4,470 มันสำปะหลัง 8.2 3,561 (ปี 57) 6,560 ปาล์มน้ำมัน 4.56 2,576 (ปี 58) 7,459 ยางพารา 19.55 237 14,230 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

4 แผนภาพการเชื่อมโยงงานตามนโยบายของ รมว.กษ. (เพื่อยกกระดาษ A4)
3 ก.พ. 60 แผนภาพการเชื่อมโยงงานตามนโยบายของ รมว.กษ. (เพื่อยกกระดาษ A4) นโยบาย กษ. ศพก. ใครทำ มีพันธกิจอะไร เกษตรกร สร้าง Smart Farmer เป้าหมายปลายทาง ต้องทำอะไร แปลงใหญ่ Single Command สร้าง Smart Officer Zoning by Agri-Map คุณภาพชีวิตของ เกษตรกรดีขึ้น 1. ฐานะทางสังคม (ภาคภูมิใจใน อาชีพเกษตร และสังคมยอมรับ) 2. รายได้เพิ่มขึ้น/ หนี้สินลดลง สินค้ามีคุณภาพ มีตลาดรองรับ มาตรฐานสินค้าเกษตร เกษตรอินทรีย์ เกษตร GAP สถาบันเกษตรกร - สหกรณ์ - วิสาหกิจชุมชน - กลุ่มเกษตรกร ขับเคลื่อนด้วย ยกระดับ สถาบันเกษตรกร ให้เข้มแข็ง ต้นทุนลดลง 20% 1. ปรัชญา เศรษฐกิจ พอเพียง 2. บูรณาการงาน สู่ AGENDA และ AREA 3. เทคโนโลยี/ นวัตกรรม/ องค์ความรู้ เกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรผสมผสาน ผลผลิตเพิ่มขึ้น 20% ตัวช่วย ธนาคารสินค้าเกษตร ธนาคารสินค้าเกษตร เงินกู้ ดอกเบี้ยต่ำ - ยุ้งฉาง - ลานตาก ตลาดสินค้า เกษตร - ฯลฯ ภาครัฐ ประชารัฐ หน่วยงาน อื่น แผนผลิตข้าวครบวงจร หมายเหตุ - กระดาษA4 หมายถึง พื้นที่เกษตรกรรม 149 ล้านไร่ ที่มีจำกัด - ยกกระดาษA4 หมายถึง ทำให้เกษตรกรไปสู่เป้าหมาย โดยพัฒนาและใช้พื้นที่เกษตรกรรมที่มีจำกัด จัดหาที่ดินทำกิน (ส.ป.ก. ยึดคืน ที่ดิน ส.ป.ก.) ระบบส่งน้ำ/กระจายน้ำ

5 ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง
การขับเคลื่อนโครงการ ตามนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ภาพรวม และ ในส่วนของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์) ศพก. แปลงใหญ่ เกษตรอินทรีย์ เกษตรทฤษฎีใหม่ ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง

6 การขับเคลื่อนนโยบาย ศพก. ภาพรวม

7 Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2560
1. เตรียมการ ดำเนินงาน 2. วิเคราะห์ ศักยภาพ ศพก. 3. พัฒนา ศักยภาพ ศพก. 4. ขับเคลื่อน เครือข่าย ศพก. 5. การให้ บริการ ของ ศพก. 6. อบรม เกษตรกร 7. ประสานงาน วิจัย/วิชาการ/ นวัตกรรม 8. ติดตาม ประเมินผล งาน 1. จัดทำคู่มือ การดำเนินงาน 2. ทำความเข้าใจหน่วยงาน ต่าง ๆ สั่งการให้มีการดำเนินงาน ทบทวน/วิเคราะห์ศักยภาพของ ศพก. และ ศูนย์เครือข่าย 1. ปรับปรุง ศพก. - สร้างศาลาเรียนรู้ -ฐาน/แปลงเรียนรู้ 2. ปรับปรุงข้อมูล 3. สร้าง/พัฒนาวิทยากร 4. พัฒนาศูนย์เครือข่าย 5. เชื่อมโยงองค์ความรู้/การทำงานกับเกษตรกร/สถาบันเกษตรกร 1. คัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายระดับ จว./เขต/ประเทศ 2. ประชุมคณะกรรมการ 3. สร้างช่องทางการติดต่อสื่อสาร 4. พัฒนาศักยภาพ 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - กำหนดแผนเยี่ยมของเจ้าหน้าที่ - 9,999 ตามรอยเท้าพ่อ - บริการถ่ายทอดความรู้ - บริการข้อมูลข่าวสาร - บริการด้านเกษตร อื่น ๆ - Field Day - คลินิกเกษตร - รับเรื่องร้องเรียน 1. พัฒนาหลักสูตร - หลัก : การลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรหลักของ ศพก. ยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร - บังคับ : เกษตรทฤษฎีใหม่ - เสริม : บัญชีต้นทุนอาชีพองค์กรเกษตรกร การใช้น้ำ อย่างรู้คุณค่า 2. อบรมเกษตรกรผู้นำตลอดฤดูกาลผลิต (รร.เกษตรกร) - ขยายผลงานวิจัย/นวัตกรรม - การวิจัยร่วมใน ศพก. - การฝึกงานร่วมระหว่างเกษตรกรผู้นำ/นักเรียน/นักศึกษา 1. ติดตามประเมินการ นำไปปฏิบัติของเกษตรกร 2. ติดตามประเมินผลโครงการ กิจกรรม Single Command หน่วยงานรับผิดชอบ กสก. Single Command SC/ทุกหน่วยงาน ในสังกัด กษ. ระดับพื้นที่/คณะกรรมการ ศพก. กสก./SC SC /ทุกหน่วย งานในสังกัด กษ. ระดับ พื้นที่/คณะ กรรมการ ศพก. SC /ทุกหน่วย งานในสังกัด กษ. ระดับพื้นที่/ คณะ กรรมการ ศพก. สศก./SC ระยะเวลา ต.ค. 59 ภายใน ธ.ค. 59 ภายใน ธ.ค. 59 ต.ค ก.ย. 60 1 ม.ค ก.ย. 60 พ.ย. 59 เป็นต้นไป ต.ค. 59 เป็นต้นไป ก.พ. - ก.ย. 60 วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 1. เป็นต้นแบบการทำการเกษตรในพื้นที่ 1. อำเภอละ 1 ศูนย์ 882 ศูนย์ และมีเครือข่าย ศพก. 77 จังหวัด 9 เขต และระดับประเทศ 2. ศูนย์กลางในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตของอำเภอ 2. เกษตรกรในพื้นที่ประยุกต์ใช้ความรู้จาก ศพก. ในการผลิตสินค้าเกษตร และปรับเปลี่ยนระบบการผลิตให้เหมาะสม 3. กลไกในการบูรณาการการทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ 3. ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรหลักของอำเภอ 20 ธ.ค.59

8 การขับเคลื่อนนโยบาย ศพก. ในส่วนของ กตส.
การขับเคลื่อนนโยบาย ศพก. ในส่วนของ กตส.

9 Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2560
1. เตรียมการ ดำเนินงาน 2. วิเคราะห์ ศักยภาพ ศพก. 3. พัฒนา ศักยภาพ ศพก. 4. ขับเคลื่อน เครือข่าย ศพก. 5. การให้ บริการ ของ ศพก. 6. อบรม เกษตรกร 7. ประสานงาน วิจัย/วิชาการ/ นวัตกรรม 8. ติดตาม ประเมินผล งาน 1. จัดทำคู่มือ การดำเนินงาน 2. ทำความเข้าใจหน่วยงาน ต่าง ๆ สั่งการให้มีการดำเนินงาน ทบทวน/วิเคราะห์ศักยภาพของ ศพก. และ ศูนย์เครือข่าย 1. ปรับปรุง ศพก. - สร้างศาลาเรียนรู้ -ฐาน/แปลงเรียนรู้ 2. ปรับปรุงข้อมูล 3. สร้าง/พัฒนาวิทยากร 4. พัฒนาศูนย์เครือข่าย 5. เชื่อมโยงองค์ความรู้/การทำงานกับเกษตรกร/สถาบันเกษตรกร 1. คัดเลือกและแต่งตั้งคณะกรรมการเครือข่ายระดับ จว./เขต/ประเทศ 2. ประชุมคณะกรรมการ 3. สร้างช่องทางการติดต่อสื่อสาร 4. พัฒนาศักยภาพ 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - กำหนดแผนเยี่ยมของเจ้าหน้าที่ - 9,999 ตามรอยเท้าพ่อ - บริการถ่ายทอดความรู้ - บริการข้อมูลข่าวสาร - บริการด้านเกษตร อื่น ๆ - Field Day - คลินิกเกษตร - รับเรื่องร้องเรียน 1. พัฒนาหลักสูตร - หลัก : การลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรหลักของ ศพก. ยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร - บังคับ : เกษตรทฤษฎีใหม่ - เสริม : บัญชีต้นทุนอาชีพองค์กรเกษตรกร การใช้น้ำ อย่างรู้คุณค่า 2. อบรมเกษตรกรผู้นำตลอดฤดูกาลผลิต (รร.เกษตรกร) - ขยายผลงานวิจัย/นวัตกรรม - การวิจัยร่วมใน ศพก. - การฝึกงานร่วมระหว่างเกษตรกรผู้นำ/นักเรียน/นักศึกษา 1. ติดตามประเมินการ นำไปปฏิบัติของเกษตรกร 2. ติดตามประเมินผลโครงการ กิจกรรม พัฒนาฐานเรียนรู้ด้านบัญชี (ต้นทุนองค์ความรู้ของศูนย์) สร้างครูบัญชีประจำศูนย์เรียนรู้ (เน้นเจ้าของศูนย์) ศูนย์ละ 2 คน จัดตารางการให้บริการความรู้ แก่เกษตรกร ให้บริการความรู้บัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เกษตรกร จัดให้มีครูบัญชีทำหน้าที่ให้บริการ ความรู้บัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร ที่เข้ามารับบริการ (ศูนย์ละ 2 คน ทำหน้าที่สลับกัน) ภารกิจกตส. ติดตามประเมินผลการให้ความรู้ แก่เกษตรกร (ติดตามให้เกษตรกร สามารถจัดทำบัญชีได้ อย่างน้อย ศูนย์ละ 30 ราย เป้าหมาย : เกษตรกรที่ได้รับความรู้จากครูบัญชีประจำศูนย์ สามารถจัดทำบัญชีได้ ไม่น้อยกว่า 26,460 คน

10 การขับเคลื่อน นโยบายแปลงใหญ่ ภาพรวม
การขับเคลื่อน นโยบายแปลงใหญ่ ภาพรวม

11 Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความ เข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนา การผลิต - 1. การจัดอบรมเจ้าหน้าที่ IFPP 2. พัฒนาผู้จัดการแปลง 3. พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็นผู้จัดการแปลง 4. อบรมบัญชีต้นทุนอาชีพแก่สมาชิกกลุ่ม 5. ทบทวนปรับปรุงแผนและเป้าหมายของกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. วิเคราะห์และวางแผนการตลาด และจัดทำแผนธุรกิจกลุ่ม (ระหว่างผู้ผลิตและผู้ซื้อ) 4. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน 4. พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี2559 ระยะเวลา พ.ย. 59- ก.ย. 60 พ.ย ม.ค. 60 พ.ย. 59 -ม.ค. 60 พ.ย ก.ย. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. แปลงใหญ่ ปี 2559 จำนวน 600 แปลง/กลุ่มสามารถบริหารจัดการแปลงในด้านการวางแผน/จัดการการผลิต การตลาดและการบริหารจัดการกลุ่มได้ดีขึ้น 1. ลดต้นทุน 20% เพิ่มผลผลิต 20% ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย

12 Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความ เข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนา การผลิต - 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. เสนอข้อมูลผ่าน SC และคณะอนุกรรมการฯ เห็นชอบรับรองแปลง 4. แจ้งผลการพิจารณาให้ฝ่ายเลขาฯ (กสก.) ภายใน ม.ค. 60 5. บันทึกข้อมูลแปลงที่ผ่านการรับรองในระบบ 6. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. ทีมผู้จัดการร่วมกับเกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 3. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 4. กำหนดเป้าหมายการพัฒนาและจัดทำแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการ ลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่า วิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/ RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี 2560 ระยะเวลา พ.ย ม.ค. 60 ธ.ค ก.พ. 60 ธ.ค ก.ย. 60 ธ.ค ก.ย. 60 ธ.ค ก.ย. 60 ทีม 4 ทีม/เกษตรกร/ ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม SC/ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสส./กสก. แปลงใหญ่ ปี 2560 จำนวนไม่น้อยกว่า 400 แปลง 1. ลดต้นทุน 20% เพิ่มผลผลิต 20% ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย

13 Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความ เข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนา การผลิต - 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 2. จัดทำข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นทุกแปลง (จำนวนสมาชิก ชนิดสินค้า ขนาดพื้นที่ ฯลฯ) 3. คัดเลือกและแต่งตั้งกรรมการกลุ่ม 1. เกษตรกรวิเคราะห์และกำหนดเป้าหมายการพัฒนาแปลงทั้ง 5 ด้าน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 4. ประเมินศักยภาพของกลุ่ม 1. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 2. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่า วิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้างแบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงเตรียมความพร้อม ระยะเวลา พ.ย ม.ค. 60 ธ.ค. 59-ก.พ. 60 ธ.ค. 59- ก.ย. 60 ธ.ค. 59-ก.ย. 60 ธ.ค ก.ย. 60 หน่วยงาน กสก./กตส./SC/ทีม 4 ทีม ทุกหน่วยงานทีเกี่ยวข้อง กสก./เกษตรกร ศพก./ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กสก. แปลงเตรียมความพร้อม จำนวน 512 แปลง (ส่งเสริมเพื่อการรวมกลุ่มในเวลา 6 เดือน หากพร้อมให้รับรองเป็นแปลงใหญ่ ภายในปี 2560) 1. ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐาน 4. สอดคล้องความต้องการของตลาด เพิ่มศักยภาพการบริหารการจัดการ เป้าหมาย

14 การขับเคลื่อน นโยบายแปลงใหญ่ ในส่วนของ กตส.
การขับเคลื่อน นโยบายแปลงใหญ่ ในส่วนของ กตส.

15 Road Map การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
แผน 1. เตรียมการ 3. การสร้างความ เข้มแข็งของกลุ่ม 2. จัดทำแผน ปฏิบัติการ 5. การพัฒนา ด้านการตลาด 4. การพัฒนา การผลิต - 1. การจัดอบรมเจ้าหน้าที่ IFPP 2. พัฒนาผู้จัดการแปลง 3. พัฒนาเกษตรกรสู่การเป็นผู้จัดการแปลง 4. อบรมบัญชีต้นทุนอาชีพแก่สมาชิกกลุ่ม 5. ทบทวนปรับปรุงแผนและเป้าหมายของกลุ่ม 1. ประชุม SC เพื่อบูรณาการทำงาน 2. จัดทำแผนการสนับสนุนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. วิเคราะห์และวางแผนการตลาด และจัดทำแผนธุรกิจกลุ่ม (ระหว่างผู้ผลิตและผู้ซื้อ) 4. กำหนดแผนพัฒนากลุ่ม 1. ประชุมทีมผู้จัดการและทีมสนับสนุน 3 ทีม 2. ประชุมสมาชิกกลุ่มเพื่อจัดทำแผนการผลิตรายครัวเรือน/จัดเก็บข้อมูลรายบุคคล (IFPP) 3. บริหารจัดการการผลิต การใช้ปัจจัยการผลิตและเครื่องมืออุปกรณ์ในการผลิตร่วมกัน 4. พัฒนาการบริหารจัดการกลุ่ม ด้านการผลิต 1. ถ่ายทอดความรู้ด้านการลดต้นทุนเพิ่มผลผลิต เช่น - การใช้พันธุ์ดี - การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน - การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืชนั้นๆ 2. จัดทำแปลงเรียนรู้ตามความต้องการของกลุ่ม 3. การยกระดับคุณภาพผลผลิตสู่มาตรฐานด้านต่างๆ - GAP/เกษตรอินทรีย์/RSPO/อื่นๆ 1. การแปรรูปเบื้องต้นสร้าง แบรนด์และพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 2. จัดเวทีเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อกับผู้ผลิต 3. การรวบรวมและคัดแยกส่งตลาดคู่ค้า 4. ขยายช่องทางการตลาด กิจกรรม แปลงปี2559 กลุ่มใหม่ (177 แห่ง) - วางรูปแบบบัญชีและวางระบบการควบคุมภายในให้วิสาหกิจชุมชน - สอนแนะการจัดทำบัญชี งบทดลอง กลุ่มเดิมที่มีอยู่แล้ว (30 แห่ง) - สอนการจัดทำงบทดลอง และงบการเงิน - สอนการใช้ข้อมูลทางการเงินและการบัญชีในการบริหารงาน ภารกิจกตส. ยืนยันเป้าหมายและประเมินความพร้อม จัดทำข้อมูลเกษตรกรรายคน เตรียมความพร้อมครูบัญชีประจำแปลง อบรมการจัดทำบัญชีต้นทุนรายอาชีพ แก่เกษตรกร ติดตามประเมินผล

16 การปฏิบัติงานโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ข้อมูล ณ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2560 บันทึกรายชื่อสมาชิก แปลงใหญ่ลงในฐานข้อมูล 571 แปลง 85,416 ราย เป้าหมายจาก กสก. 600 แปลง 96,379 ราย ยืนยันเป้าหมายจาก SC 588 แปลง 91,851 ราย ประเมินศักยภาพการจัดทำบัญชี 451 แปลง 62,162 ราย มีความพร้อม 51,848 ราย ขาดความพร้อม 10,314 ราย อ่านไม่ออก/เขียนไม่ได้ 2,976 ราย สูงอายุ 3,950 ราย พิการ 22 ราย อื่นๆ 3,366 ราย

17 การปฏิบัติงานโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
มีความพร้อม 51,848 ราย วิธีการจำแนกกลุ่ม 1. คัดเลือกเกษตรกรเป้าหมายให้ ครบตามจำนวนเป้าหมาย แปลงใหญ่ที่ได้รับจัดสรรจากกรม (ตามที่ได้รับงบประมาณ) 2. เป้าหมายที่เหลือให้กระจายลง ภายใต้ 3 โครงการหลัก (ตามคุณสมบัติ) การจำแนกกลุ่มเป้าหมาย 1. แปลงใหญ่ (21,700 ราย) 2. ภายใต้กิจกรรม ต้นทุนอาชีพ เป้า 200,000 คน (แปลงใหญ่ ราย) 3. ภายใต้กิจกรรม ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น เป้า15,000 คน 4. ภายใต้กิจกรรม ทำบัญชีอย่างยั่งยืน เป้า 9,000 คน (แปลงใหญ่ ราย) 1. อบรมการจัดทำบัญชี 2. กำกับแนะนำการจัดทำบัญชี 3.ติดตามการจัดทำบัญชี 1. อบรมการจัดทำบัญชี 2. กำกับแนะนำการจัดทำบัญชี 3.ติดตามการจัดทำบัญชี 1. อบรมการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพ 2. กำกับแนะนำการใช้ข้อมูลทางบัญชี 3.ติดตามการจัดทำบัญชี 1.อบรมเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ 2. กำกับแนะนำการใช้ข้อมูลทางบัญชี 3.. ติดตามการเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพ 4.เก็บข้อมูลรายต้นทุนอาชีพ

18 การปฏิบัติงานโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
กลุ่มขาดความพร้อม ขาดความพร้อม 10,314 ราย 1. แจ้งผลการประเมินในที่ประชุม SC ทราบ (ทั้งพร้อม และไม่พร้อม) 2. กรณีอ่านไม่ออก/เขียนไม่ได้ สูงอายุ พิการ * ประสานผู้ขาดความพร้อม เพื่อหาบุคคลในครอบครัว/บุคคลใกล้ชิด/ ญาติพี่น้อง เป็นผู้บันทึกบัญชีให้ 3. กรณีอื่นๆ 3.1 ไม่มีตัวตนในพื้นที่ เช่น ตาย ลาออก ย้ายออกจากพื้นที่ ) - ประสาน SC ให้ยืนยัน/ปรับเปลี่ยนเป้าหมาย/ยกเลิก - ถ้า SC มีการปรับเปลี่ยนเป้าหมาย /ยกเลิก ให้รายงานกรมทราบ 3.2 มีตัวตนแต่ ไม่พร้อมเข้ารับการอบรม เช่น ไม่ชอบ ไม่มีเวลา ไม่สนใจ - มอบครูบัญชีเข้า Coaching เป็นรายบุคคล /กลุ่มย่อย อ่านไม่ออก/เขียนไม่ได้ 2,976 ราย สูงอายุ 3,950 ราย พิการ 22 ราย อื่นๆ 3,366 ราย

19 การขับเคลื่อน นโยบายเกษตรอินทรีย์ ภาพรวม

20 Road Map การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ ปี 2560
พื้นที่ดำเนินการ ยโสธรโมเดล + พื้นที่ทั่วไป เป้าหมาย เพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 15 % กิจกรรม ขั้นเตรียมการ เพิ่มประโยชน์การใช้ พื้นที่/ เพิ่มรายได้ (ผลผลิตชนิดใหม่) การตรวจรับรองมาตรฐาน รวบรวมผลผลิต/ แปรรูป/ เพิ่มมูลค่า เชื่อมโยงตลาด และ สร้างความ เชื่อมั่น 1. ฝึกอบรมการแปรรูป/ เพิ่มมูลค่า 2. ประชุม สัมมนาเครือข่ายผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ 1. วิจัยการผลิต/ระบบ/รูปแบบการผลิตพืช ประมง ปศุสัตว์อินทรีย์ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 1. ตรวจรับรองต่ออายุและตรวจติดตามเกษตรอินทรีย์ 2. การพัฒนาและเชื่อมโยงระบบการตรวจรับรองและระบบฐานข้อมูลเกษตรอินทรีย์ 1. สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ แปรรูป บรรจุภัณฑ์ และเครื่องบรรจุผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเริมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3. สร้างต้นแบบโรงสี/โรงผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 4. สนับสนุนการสร้างและบริหารตราสินค้าเกษตรอินทรีย์ 1. ตามสอบสินค้า ติดตั้งการใช้งานระบบตามสอบ (QR Trace) และเชื่อมโยงระบบตามสอบสินค้าเกษตรอินทรีย์สู่ตลาดออนไลน์ 2. พัฒนาตลาดสีเขียวและเพิ่มช่องทางการตลาด 3. เชื่องโยงตลาด/จับคู่ธุรกิจ กลุ่มขั้นที่ 3 กลุ่มได้รับรอง 1. ประเมินเกษตรกรเบื้องต้นและสมัคร ขอการรับรอง 2. ฝึกอบรมควบคุมภายในกลุ่ม (ICS) หรือรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS) 1. จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรหรือจัดทำระบบ PGS 2. เรียนรู้เกษตรอินทรีย์/เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใน ศพก. 3. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเกษตรอินทรีย์ 4. จัดทำแปลงสาธิต/จัดตั้งหมู่บ้านต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์/ ศูนย์เรียนรู้ PGS 5. โครงการต้นแบบโรงผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 6. สนับสนุนปัจจัย/วัสดุ/อุปกรณ์การผลิต 1. ตรวจรับรองระยะปรับเปลี่ยน/แปลงใหม่ (เดี่ยวหรือรับรองกลุ่ม) หรือตรวจประเมินสมาชิกโดยระบบ PGS 2. การตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในดิน น้ำ หรือผลผลิต 1. พัฒนาต่อยอดการผลิตเกษตรอินทรีย์ กลุ่มขั้นที่ 2 กลุ่มพร้อมยกระดับ 1. ฝึกอบรมความรู้เบื้องต้นด้านเกษตรอินทรีย์ 2. ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ 3. ให้คำปรึกษาแนะนำการปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 4. การเตรียมความพร้อมเกษตรกรก่อนขอการรับรอง 5. จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้เกษตรอินทรีย์ กลุ่มขั้นที่ 1 กลุ่มเริ่มใหม่ 1. สนับสนุนปัจจัยการผลิตเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์แปลงใหญ่ หน่วยงาน กข., ปศ.,ปม.,พด.,สปก., ปศ.,ปม.,คตส.,มกอช.,สก. ปม.,วก., ปศ.,มม.,กส.,สศก.,สก.,สปก., กข.,ปม.,วก.,ปศ.,สก. กข.,มกอช. มกอช., สส.,ปศ.,กข.,สก. วก. (สวพ. , ศวพ.) SC เวลาดำเนินการ ม.ค ก.ย. 60 ต.ค. 59 – ก.ย. 60 ต.ค ก.ย. 60 ต.ค. 59 – ก.ย. 60 พ.ย ก.ย. 60

21 การขับเคลื่อน นโยบายเกษตรอินทรีย์ ในส่วนของ กตส.

22 Road Map การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ ปี 2560
พื้นที่ดำเนินการ ยโสธรโมเดล + พื้นที่ทั่วไป เป้าหมาย เพิ่มพื้นที่เกษตรอินทรีย์ไม่น้อยกว่า 15 % กิจกรรม ขั้นเตรียมการ เพิ่มประโยชน์การใช้ พื้นที่/ เพิ่มรายได้ (ผลผลิตชนิดใหม่) การตรวจรับรองมาตรฐาน รวบรวมผลผลิต/ แปรรูป/ เพิ่มมูลค่า เชื่อมโยงตลาด และ สร้างความ เชื่อมั่น 1. ฝึกอบรมการแปรรูป/ เพิ่มมูลค่า 2. ประชุม สัมมนาเครือข่ายผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และผู้บริโภคสินค้าเกษตรอินทรีย์ 1. วิจัยการผลิต/ระบบ/รูปแบบการผลิตพืช ประมง ปศุสัตว์อินทรีย์ผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 1. ตรวจรับรองต่ออายุและตรวจติดตามเกษตรอินทรีย์ 2. การพัฒนาและเชื่อมโยงระบบการตรวจรับรองและระบบฐานข้อมูลเกษตรอินทรีย์ 1. สนับสนุนวัสดุ/อุปกรณ์ แปรรูป บรรจุภัณฑ์ และเครื่องบรรจุผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเริมการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3. สร้างต้นแบบโรงสี/โรงผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ 4. สนับสนุนการสร้างและบริหารตราสินค้าเกษตรอินทรีย์ 1. ตามสอบสินค้า ติดตั้งการใช้งานระบบตามสอบ (QR Trace) และเชื่อมโยงระบบตามสอบสินค้าเกษตรอินทรีย์สู่ตลาดออนไลน์ 2. พัฒนาตลาดสีเขียวและเพิ่มช่องทางการตลาด 3. เชื่องโยงตลาด/จับคู่ธุรกิจ กลุ่มขั้นที่ 3 กลุ่มได้รับรอง 1. ประเมินเกษตรกรเบื้องต้นและสมัคร ขอการรับรอง 2. ฝึกอบรมควบคุมภายในกลุ่ม (ICS) หรือรับรองแบบมีส่วนร่วม (PGS) 1. จัดตั้งกลุ่มเกษตรกรหรือจัดทำระบบ PGS 2. เรียนรู้เกษตรอินทรีย์/เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใน ศพก. 3. พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเกษตรอินทรีย์ 4. จัดทำแปลงสาธิต/จัดตั้งหมู่บ้านต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้เกษตรอินทรีย์/ ศูนย์เรียนรู้ PGS 5. โครงการต้นแบบโรงผลิตปุ๋ยหมักแบบเติมอากาศ 6. สนับสนุนปัจจัย/วัสดุ/อุปกรณ์การผลิต 1. ตรวจรับรองระยะปรับเปลี่ยน/แปลงใหม่ (เดี่ยวหรือรับรองกลุ่ม) หรือตรวจประเมินสมาชิกโดยระบบ PGS 2. การตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในดิน น้ำ หรือผลผลิต 1. พัฒนาต่อยอดการผลิตเกษตรอินทรีย์ กลุ่มขั้นที่ 2 กลุ่มพร้อมยกระดับ 1. ฝึกอบรมความรู้เบื้องต้นด้านเกษตรอินทรีย์ 2. ประชุมชี้แจงสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ 3. ให้คำปรึกษาแนะนำการปฏิบัติตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 4. การเตรียมความพร้อมเกษตรกรก่อนขอการรับรอง 5. จัดทำสื่อเผยแพร่ความรู้เกษตรอินทรีย์ กลุ่มขั้นที่ 1 กลุ่มเริ่มใหม่ 1. สนับสนุนปัจจัยการผลิตเกษตรอินทรีย์ 2. ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์แปลงใหญ่ ภารกิจกตส. อบรมบัญชีต้นทุนอาชีพ - สมาชิกในสหกรณ์ 1 แห่ง 10 ราย - สมาชิกในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 1 แห่ง 30 ราย

23 การขับเคลื่อน นโยบายเกษตรทฤษฎีใหม่ ภาพรวม

24 การขับเคลื่อนตามกลุ่มเป้าหมายเกษตรกร(จำแนกตามความพร้อม)
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 1 ระยะเวลาการขับเคลื่อน ก.พ.- เม.ย. 60 2 พ.ค.- ก.ย. 60 3 ต.ค.- ธ.ค. 60 เป้าหมาย/ การคัดเลือก 21,000 ราย(30%) 42,000 ราย(60%) 7,000 ราย(10%) 1) จังหวัดต้องจัดกลุ่มและลำดับความสำคัญของเกษตรกรตามคุณสมบัติในแต่ละกลุ่ม โดยใช้ข้อมูลจากการตรวจติดตามความพร้อมของเกษตรกรจำนวน 70,000 รายที่ดำเนินการแล้ว 2) จังหวัดคัดเลือกเกษตรกรตามคุณสมบัติ “พร้อมมาก”ให้กระจายตัวในทุกตำบล/อำเภอ อย่างน้อยตำบลที่มีเกษตรกรร่วมโครงการ ตำบลละ 3-5 รายหรือตามความเหมาะสม กลุ่มความพร้อม เกษตรกรกลุ่มที่ 1 (พร้อมมาก) เกษตรกรกลุ่มที่ 2 (พร้อมปานกลาง) เกษตรกรกลุ่มที่ 3 (พร้อม) เกณฑ์การคัดเลือก ตัวเกษตรกร : 1) มีความสมัครใจทำเกษตรทฤษฎีใหม่ถวายในหลวง /เข้าใจหลักทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสานอย่างมาก 2) พร้อมมากในการลงทุนในกิจกรรมเพิ่มเติมด้วยตนเองตามฐานะ พื้นที่ : 1) Start Zero 2) แหล่งน้ำของตนเองใช้งานได้ตลอดปี 3) ปัจจัยพื้นที่ที่เกี่ยวข้องมีความพร้อม ตัวเกษตรกร : 1)มีความสมัครใจทำเกษตรทฤษฎีใหม่ถวายในหลวง /เข้าใจหลักทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน 2) พร้อมลงทุนในกิจกรรมเพิ่มเติมบางส่วน พื้นที่ : 1) Start Zero หรือทำเกษตรผสมผสาน/ทฤษฎีใหม่อยู่แล้วบางส่วนแต่ไม่สมบูรณ์ ตัวเกษตรกร : 1) มีความสมัครใจทำเกษตรทฤษฎีใหม่ถวายในหลวง /มีความสนใจทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน 2) พร้อมลงทุนในกิจกรรมเพิ่มเติมเล็กน้อย พื้นที่ : 1) Start Zero หรือทำเกษตรผสมผสาน/ทฤษฎีใหม่อยู่แล้วบางส่วนแต่ไม่สมบูรณ์ หลักการปฏิบัติกับกลุ่มเป้าหมาย 1) ความรู้เพิ่มเติม 2) สนับสนุนปัจจัยการผลิตเพิ่มเติมเพื่อส่งเสริมการทำกิจกรรมในแปลงที่หลากหลาย 3)เตรียมความพร้อมเกษตรกร/เตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านดิน/น้ำให้พร้อมขับเคลื่อนเพิ่มเติม 4) ส่งเสริมให้เกษตรกรทำกิจกรรมที่สามารถเกื้อกูลกันภายในแปลง 5) มอบหมายหน่วยรับผิดชอบ+ภาคเอกชน+ปราชญ์ เกษตรร่วมขับเคลื่อนและสนับสนุนระดับเข้มข้น 1) ความรู้เพิ่มเติม/เพิ่มแรงกระตุ้นจูงใจให้พร้อมใจดำเนินการตามทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน 2) ส่งเสริมกิจกรรมที่พร้อมลงทุนเพิ่มให้เกิดประโยชน์สูงสุด/สนับสนุนเพิ่มเติมบางส่วน 3)มอบหมายหน่วยรับผิดชอบ+ภาคประชารัฐร่วมขับ เคลื่อนและสนับสนุนระดับเข้มข้น 4) เตรียมความพร้อมเกษตรกร/เตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านดิน/น้ำให้พร้อมขับเคลื่อนเพิ่มเติม 1)ความรู้เพิ่มเติม/เพิ่มแรงกระตุ้นจูงใจให้พร้อมใจดำเนินการตามทฤษฎีใหม่/เกษตรผสมผสาน 2) ส่งเสริมกิจกรรมที่พร้อมลงทุนเพิ่มให้เกิดประโยชน์สูงสุด/สนับสนุนเพิ่มเติมบางส่วน 3)มอบหมายหน่วยรับผิดชอบ+ ภาคประชารัฐร่วมขับเคลื่อนตามแผนดำเนินงานปกติ 4) เตรียมความพร้อมเกษตรกร/เตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านดิน/น้ำให้พร้อมขับเคลื่อนเพิ่มเติม หมายเหตุ : ความพร้อมมาก หมายถึง ความพร้อมมากของเกษตรกร กลุ่ม Start Zero ที่ระเบิดมาจากข้างใน ต้องการทำทฤษฎีใหม่ถวายในหลวงด้วยตนเองตามฐานะ โดยจะมีภาครัฐ เอกชน และ ปราชญ์เกษตรในชุมชน เป็นตัวช่วยสนับสนุน

25 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง
ชื่อโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง เป้าหมาย อย่างน้อย 70,000 ราย ภายใน ธันวาคม 2560 กลยุทธ์ 1. ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง 2. เกิด 1 แตก 2 3. เริ่มจากง่าย มีรายได้ ขยายฐาน เบ่งบานผล ความจนหาย เริ่มจากทำตามที่ ตนเองถนัด 1 อย่างก่อน (เหมาะสมกับฐานะ) ทำให้ง่าย ลงทุนน้อย มีรายได้ ลองอย่างที่ 2, 3, …. ขยายฐาน Step Curve เบ่งบานผล ความจนหาย แนวปฎิบัติ เกษตรกร รัฐ (กษ.) พ.ค.- ก.ย 60 4,000 x 3-5 ≥10 =21,000 cell 882 x 3 = 2,646 cell Cell เกิดใหม่ 21,000 X 2 = 42,000 2,646 X 2 = 5,292 cell Cell ต้นกำเนิด มาจาก 2 แนวทาง แตก Cell ก.พ.- เม.ย. 60 1 2 3 21,000 × 2 = 42,000 42,000 × 2 =84,000 = 126,000 2,646 × 2 = 5,292 5,292 × 2 =10,584 = 15,876 ต.ค.- ธ.ค 60 แนวทางที่ 1 แนวทางที่ 2 ปราชญ์/ ต้นแบบ เอกชน สถาบัน การศึกษา ศพก./ ศูนย์เรียนรู้ฯ 2 ก.พ. 60: 12.00

26 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง
วิธีการขับเคลื่อน เกษตรกร เริ่มจากทำตามที่ตนเองถนัด 1 อย่าง ก่อน(เหมาะสมกับฐานะ) ทำให้ง่าย ลงทุนน้อย มีรายได้ ลองอย่างที่ 2, 3, …. ขยายฐาน เบ่งบานผล ความจนหาย หลัก ภาครัฐ (เป้าหมายรับผิดชอบตามพื้นที่ที่รับมอบหมาย) สนับสนุน สถาบันการศึกษา (เป้าหมายรับผิดชอบตามเหมาะสม) ตัวช่วย ปราชญ์เกษตร/เกษตรกรต้นแบบ /ศพก./ศูนย์เรียนรู้ ศก.พอเพียง (เป้าหมายรับผิดชอบ1 : 3-5≥10) สนับสนุน ภาคเอกชน (เป้าหมายรับผิดชอบตามเหมาะสม) รับผิดชอบพื้นที่/เกษตรกร  วิเคราะห์พื้นที่เกษตรกร  ประสานงาน/สนับสนุนภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมดำเนินการ ติดตาม เยี่ยมเยียนแก้ปัญหา สนับสนุนปัจจัยการผลิตตามความเหมาะสม  ส่งเสริม/ให้คำแนะนำองค์ความรู้  ติดตาม เยี่ยมเยียน  ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำของเกษตรกรเป้าหมาย เพื่อให้ระเบิดความตั้งใจจากข้างใน  ให้คำแนะนำ/ที่ปรึกษา/เยี่ยมเยียน  ส่งเสริม/ให้คำแนะนำ  ติดตาม เยี่ยมเยียน  สนับสนุนปัจจัยการผลิต/ค่าใช้จ่ายอื่นให้กับเกษตรกรโดยพิจารณาเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสม  สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานของปราชญ์/เกษตรกรต้นแบบ 2 ก.พ. 60: 12.00

27 ผังเชื่อมโยงกิจกรรม+บทบาทของ 5 ประสาน
พื้นที่ เกษตรกร (Cell ต้นกำเนิด) เกษตรกร (Cell แตกตัวครั้งที่ 1) เกษตรกร (Cell แตกตัวครั้งที่ 2) ปราชญ์เกษตร/เกษตรกรต้นแบบ/ศพก. (1:3-5≥10) ภาครัฐ (ตามพื้นที่ที่รับผิดชอบ) ภาคเอกชน (ตามความเหมาะสม) สถาบันการศึกษา (ตามความเหมาะสม) 1 คน ตำบล ก. ดูแลทั้งอำเภอ/หลายอำเภอ หรือทั้งจังหวัด/หลายจังหวัด ดูแลทั้งตำบล/หลายตำบล หรือทั้งอำเภอ ดูแลทั้งจังหวัดหรือหลาย ตำบล ข. 1 คน จัดกลุ่มเกษตรกรเหมือนตำบล ก. ตำบล ค.และตำบลอื่นๆ 1 คน จัดกลุ่มเกษตรกรเหมือนตำบล ก. 2 ก.พ. 60: 12.00

28 ผังเชื่อมโยงกิจกรรม+บทบาทของ 5 ประสาน
ระยะ เวลา เกษตรกร (Cell ต้นกำเนิด) เกษตรกร (Cell แตกตัวครั้งที่ 1) เกษตรกร (Cell แตกตัวครั้งที่ 2) ปราชญ์เกษตร/เกษตรกรต้นแบบ/ศพก. (1:3-5≥10) ภาครัฐ (ตามพื้นที่ที่รับผิดชอบ) ภาคเอกชน (ตามความเหมาะสม) สถาบันการศึกษา (ตามความเหมาะสม) 1) จัดกลุ่มเกษตรกร ปราชญ์/เกษตรกรต้นแบบ/ศพก. 2) จัดวันนัดพบ 5 ประสานหารือการดำเนินงาน 3) สร้างแรงบันดาลใจ ระเบิดจากข้างใน 4) สำรวจความต้องการเกษตรเพื่อจัดหาปัจจัยการผลิต - ประกบเกษตรกร Cell ต้นกำเนิด - ดู/ศึกษา/ร่วมทำกับเกษตรกร Cell ต้นกำเนิด - เตรียมความพร้อมของตนเอง - SC สำรวจความต้องการ/ช่วยเหลือเตรียมพร้อมด้าน ดิน-น้ำ-แผนการผลิต - ประกบเกษตรกร Cell ต้นกำเนิด - ศึกษา - เตรียมความพร้อมของตนเอง ก.พ.60 5) เกษตรกรลงมือลองทำในพื้นที่ 6) เกษตรกรลงมือทำในพื้นที่ 7) ให้ความช่วยเหลือ/แนะนำ มี.ค.60 - สำรวจความต้องการของเกษตรกร - ประสานขอรับการสนับสนุนตามความต้องการของเกษตรกร - ประสานหน่วยงานให้ความช่วยเหลือเกษตรกรทุกขั้นตอน - ประเมินผล/ประมวลผล - เปรียบเทียบผลก่อน/หลังดำเนินการ - เก็บสะสมภาพประกอบการทำงาน - แนะนำเกษตรกรทำบัญชี สนับสนุน 1) เทคนิค/วิชาการ 2) ปัจจัยการผลิต 3) ทุนทรัพย์สำหรับตอนแทนปราชญ์/ทุนเริ่มต้นสำหรับเกษตรกรตามความจำเป็น 4) หาตลาด สนับสนุน 1) เทคนิค/วิชาการ 2) นักศึกษาเป็นลูกมือปราชญ์ 3) นักศึกษาลงมือช่วยเกษตรกร/เรียนรู้ร่วมกับเกษตรกร 4) หาตลาด 8) หาตลาดให้เกษตรกร 9) เก็บเกี่ยวผลผลิตกิน เหลือจำหน่าย เก็บรายได้ครั้งที่ 1 เริ่มลงมือทำในพื้นที่ตนเอง ลองอย่างที่ 1 - สร้างแรงบันดาลใจ - แนะนำ ช่วยเหลือ - สร้างเกษตรกรต้นกำเนิด - สร้างเกษตรกรทายาทที่แตก Cell ใหม่ เม.ย.60 พ.ค.60 - ลองอย่างที่ 2 - ลองอย่างที่ 3 เก็บเกี่ยวผลผลิตกิน เหลือจำหน่าย เก็บรายได้ครั้งที่ 1 เก็บเกี่ยวผลผลิตกิน เหลือจำหน่าย เก็บรายได้ครั้งที่ 2,3,… มิ.ย.60 - ลองอย่างที่ 2 - ลองอย่างที่ 3 เริ่มลงมือทำในพื้นที่ตนเอง ลองอย่างที่ 1 ก.ค.60 - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม เก็บเกี่ยวผลผลิตกินเหลือจำหน่ายเก็บรายได้ครั้งที่ 2,3,… เก็บเกี่ยวผลผลิตกิน เหลือจำหน่าย เก็บรายได้ครั้งที่ 1 ส.ค.60 - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม - ลองอย่างที่ 2 ก.ย.60 - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม - ลองอย่างที่ 3 ต.ค.60 ขยายผลสู่เกษตรทฤษฎีใหม่เต็มรูปแบบ - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม เก็บเกี่ยวผลผลิตกินเหลือจำหน่ายเก็บรายได้ครั้งที่ 2,3,… พ.ย.60 ขยายผลสู่เกษตรทฤษฎีใหม่เต็มรูปแบบ ขยายผลสู่เกษตรทฤษฎีใหม่เต็มรูปแบบ - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม ธ.ค.60 เป็นเกษตรกรต้นแบบ/ปราชญ์ เป็นเกษตรกรต้นแบบ/ปราชญ์ - ขยายผล - ทำบัญชีฟาร์ม 2 ก.พ. 60: 12.00

29 การขับเคลื่อน นโยบายเกษตรทฤษฎีใหม่ ในส่วนของ กตส.

30 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 ( กลุ่มเป้าหมาย 70,000 ราย)
1. จำแนกกลุ่มเป้าหมาย ภายใต้กิจกรรม ต้นทุนอาชีพ เป้า 200,000 คน (ทฤษฎีใหม่ 69,383 คน) ภายใต้กิจกรรม ทำบัญชีได้ใช้บัญชีเป็น เป้า 15,000 คน (ทฤษฎีใหม่ 193 คน) ภายใต้กิจกรรม ทำบัญชีอย่างยั่งยืน เป้า 9,000 คน (ทฤษฎีใหม่ 424 คน) 2. อบรม กำกับ ติดตาม อบรม 100% โดยครูบัญชี กำกับ 20 % โดยครูบัญชี ติดตาม 20 % โดยครูบัญชี อบรม 100% โดยครูบัญชี กำกับ 100% โดยครูบัญชี ติดตาม 100% โดยครูบัญชี อบรม 100%โดยครูบัญชี กำกับ 100% โดยครูบัญชี ติดตาม 100%โดยครูบัญชี เป้าหมายที่เหลืออีก 80% ให้ประสานความร่วมมือ/ขอความอนุเคราะห์จาก SC จังหวัด ช่วยบูรณาการร่วมกับหน่วยงานเจ้าภาพ (พี่เลี้ยง) ของพื้นที่บูรณาการนั้นๆ ในการเข้ากำกับแนะนำและติดตามการจัดทำบัญชี ตามแบบของ กตส. หากพบว่า เกษตรกรไม่ทำบัญชี ขอให้แจ้ง สตส. เพื่อประสานครูบัญชี เข้า Coaching ต่อไป

31 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 (เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์รับผิดชอบ)
พื้นที่เป้าหมาย ในพื้นที่ 62 จังหวัด กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรเป้าหมายในความรับผิดชอบ จำนวน 2,750 ราย แยกตามกลุ่มพร้อม จำนวน 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มพร้อมมาก กลุ่มพร้อมปานกลาง และกลุ่มพร้อม 1. ประสานงานกับ Single Command เพื่อขอยืนยันรายชื่อเกษตรกรเป้าหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบ แยกตามกลุ่มความพร้อม 2. มอบหมายผู้รับผิดชอบโครงการ ดังนี้ 2.1 มอบหมายข้าราชการ 1 ราย เป็นผู้รับผิดชอบหลักของโครงการ 2.2 มอบหมายเจ้าหน้าที่ในสังกัด เป็นผู้รับผิดชอบเกษตรกรเป้าหมายรายคน (เพื่อนคู่คิดเกษตรกร) โดยบุคลากร 1 ราย ต่อ เกษตรกรเป้าหมาย 5 ราย วิธีการ ทำงาน ของ สตส.

32 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 (เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์รับผิดชอบ)
3. วิเคราะห์พื้นที่/เกษตรกรเพื่อเพิ่มศักยภาพการขับเคลื่อนการปฏิบัติงาน 3.1 วิเคราะห์ศักยภาพแปลงเกษตรกรที่เหมาะสมกับกิจกรรม โดยวิเคราะห์ข้อมูลดิน/น้ำในแปลงเพื่อกำหนดแนวทาง การปรับปรุงที่เหมาะสม 3.2 ออกแบบแผนการผลิต ทบทวนและปรับปรุงผังแปลงให้เหมาะสม 1) ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องออกแบบแผนการผลิตตามความต้องการของเกษตรกร 2) ทบทวนและปรับปรุงผังแปลงให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่จริงของเกษตรกรแต่ละราย - กรณียังไม่มีพิกัดแปลง ขอให้จัดทำพิกัดแปลงให้แล้วเสร็จ - กรณียังไม่ได้จัดทำแผนผังแปลงปัจจุบัน และแผนผังแปลงในอนาคต ขอให้ดำเนินการจัดทำให้แล้วเสร็จ - กรณีที่จัดทำแผนผังแปลงในอนาคตเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ หรือมีการปรับเปลี่ยน ผังแปลง ตามผลการวิเคราะห์ศักยภาพแปลงที่เหมาะสม ขอให้ดำเนินการปรับปรุงผังแปลงให้เป็นปัจจุบัน - จัดทำแฟ้มประวัติเกษตรกรและข้อมูลผังแปลง (ผังแปลงปัจจุบันและผังแปลงในอนาคต) จำนวน 3 ชุด เพื่อมอบให้แก่เกษตรกร Single Command และเก็บไว้ที่สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ วิธีการ ทำงาน ของ สตส.

33 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 (เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์รับผิดชอบ)
4. เพิ่มพูนองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการตามความเหมาะสมของภูมิสังคมและความสมัครใจของเกษตรกร 4.1 จัดทำแผนพัฒนาองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการเพิ่มเติม โดยสอบถามเกษตรกรถึงองค์ความรู้ที่ต้องการเพิ่มเติม รวบรวม และจัดส่งให้แก่เกษตรอำเภอ 4.2 ประสานแหล่งเรียนรู้ตามความต้องการของเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรเข้ารับการพัฒนาผ่านกลไก ศพก. หรือ เครือข่ายที่มีอยู่ในแต่ละอำเภอ หรือปราชญ์เกษตร รวมถึงการพาเกษตรกรไปศึกษาดูงานในสถานที่ต่าง ๆ 5. ส่งเสริมการดำเนินกิจกรรมการผลิตในแปลง 5.1 กรณีแปลงที่ได้รับมอบปัจจัยการผลิตแล้ว 5.1.1 ตรวจสอบการนำปัจจัยการผลิตที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ และเป็นไปตามผังแปลงในอนาคต - กรณีการใช้ประโยชน์ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือผังแปลงในอนาคต ขอให้ประสาน เกษตรกร เพื่อดำเนินการแก้ไข 5.1.2 ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ (ด้านพืช ประมง ปศุสัตว์) ภาคเอกชน ภาคสถานการศึกษา หรือปราชญ์เกษตร เพื่อจัดหาปัจจัยการผลิตสนับสนุนเพิ่มเติมจากที่ได้รับโดยพิจารณาจาก แผนการผลิตของเกษตรกร วิธีการ ทำงาน ของ สตส.

34 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 (เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์รับผิดชอบ)
5.2 กรณีแปลงที่ยังไม่ได้รับมอบปัจจัยการผลิต 5.2.1 ตรวจสอบความพร้อมของเกษตรกร/เตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านดินและน้ำ ก่อนรับมอบปัจจัยการผลิต เช่น การเตรียมพื้นที่/แปลงเพาะปลูก การเตรียมแหล่งน้ำ/บ่อน้ำ/การเตรียมกรง/เล้า/โรงเรือนสำหรับ เลี้ยงสัตว์ปีก เป็นต้น - กรณีมีความพร้อม/มีโครงสร้างพื้นฐานด้านดินและน้ำแล้ว ให้ประสานงานหน่วยงานเจ้าของปัจจัยการผลิต (ภาครัฐ/ภาคเอกชน) เข้าดำเนินการมอบปัจจัยการผลิตให้แก่เกษตรกร - กรณีขาดความพร้อม/ขาดโครงสร้างพื้นฐานด้านดินและน้ำ ให้ประสานเกษตรกรดำเนินการให้มีความพร้อม ก่อนด้วยตนเองก่อน หากเกษตรกรสามารถดำเนินการได้เองบางส่วนหรือเพียงเล็กน้อย ให้ประสานหน่วยงาน ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ภาคเอกชน ภาคสถานศึกษา หรือปราชญ์เกษตร เข้าดำเนินการช่วยเหลือ แล้วจึง ค่อยประสานงานหน่วยงานเจ้าของปัจจัยการผลิต (ภาครัฐ/ภาคเอกชน) เข้าดำเนินการมอบปัจจัยการผลิต 5.2.2 ประสานงานกับหน่วยงานภาครัฐ (ด้านพืช ประมง ปศุสัตว์) ภาคเอกชน ภาคสถานการศึกษา หรือ ปราชญ์เกษตร เพื่อจัดหา ปัจจัยการผลิตสนับสนุนเพิ่มเติมจากที่ได้รับ โดยพิจารณาจากแผนการผลิต ของเกษตรกร วิธีการ ทำงาน ของ สตส.

35 ระยะเวลา ขับเคลื่อนโครงการ
แนวทางการปฏิบัติงานโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ ปี 2560 (เฉพาะกลุ่มเป้าหมายที่กรมตรวจบัญชีสหกรณ์รับผิดชอบ) วิธีการ ทำงาน ของ สตส. 6. ติดตาม เยี่ยมเยียน ในลักษณะเพื่อนเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง 6.1 ให้คำปรึกษา แนะนำ แก้ไขปัญหา และเก็บข้อมูลเกษตรกร โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่ที่ปรึกษากลุ่มย่อยเก็บข้อมูลฐาน เพื่อประกอบการวัดผลตามตัวชี้วัดของเกษตรกรทุกราย 6.2 ติดตามเยี่ยมเยียนให้เกษตรกรได้ดำเนินการในจุดเน้นต่าง ๆ ตามระยะเวลาความสำเร็จที่กำหนดไว้ เป็นตัวชี้วัด ของเกษตรกรทุกราย อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดยต้องมีการจัดทำสมุดเยี่ยมให้เกษตรกรลงนาม 6.3 ติดตามเยี่ยมเยียน โดยประสานภาคเอกชน สถาบันการศึกษาเพื่อร่วมเข้าตรวจเยี่ยมเกษตรกร ไตรมาส ละ 1 ครั้ง/ กลุ่มย่อย ระยะเวลา ขับเคลื่อนโครงการ กลุ่มที่ 1 กลุ่มพร้อมมาก ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2560 กลุ่มที่ 2 กลุ่มพร้อมปานกลาง ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - กันยายน 2560 กลุ่มที่ 3 กลุ่มพร้อม ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - ธันวาคม 2560

36 การขับเคลื่อน นโยบายยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง ในส่วนของ กตส.

37 ยกระดับสถาบันเกษตรกรให้เข้มแข็ง สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
วิสาหกิจชุมชน ตรวจสอบบัญชีประจำปีสหกรณ์ พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ ตรวจสอบความถูกต้องในการทำธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์กับสมาชิก ฝึกอบรมเศรษฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มใหม่ - วางรูปแบบบัญชีและวางระบบการควบคุมภายใน ให้วิสาหกิจชุมชนในแปลงใหญ่ - สอนแนะการจัดทำบัญชี งบทดลอง กลุ่มเดิมที่มีอยู่แล้ว - สอนการจัดทำงบทดลอง และงบการเงิน - สอนการใช้ข้อมูลทางการเงินและการบัญชี ในการบริหารงาน

38 การขับเคลื่อนนโยบาย - Zoning by Agri-Map - ธนาคารสินค้าเกษตร

39 Road Map การปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (N)
เป้าหมาย - ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม 1.5 ลานไร ในระยะเวลา 5 ป เปาหมายตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : จำนวนพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมได้รับการพัฒนาให้สามารถใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน (1.5 ล้านไร) เชิงคุณภาพ : เกษตรกรไดรับการพัฒนาศักยภาพการผลิตทางการเกษตร และมีรายไดเพิ่มขึ้น - กําหนดเป้าหมายและแผนงานการปรับเปลี่ยนกิจกรรมการผลิตในพื้นที่ N - ขับเคลื่อน ชวยเหลือ กํากับ และติดตามการปฏิบัติงาน - บูรณาการแผนงาน/งบประมาณ/บุคลากร คณะทํางาน 1.กําหนดพื้นที่ไม 2. คัดเลือก เหมาะสม(N) โดย เกษตรกร Agri-Map 3. อบรมและชี้แจงความเข้าใจเกี่ยวกับกิจกรรมปรับเปลี่ยน 4. ดําเนินการ ปรับเปลี่ยนการผลิต ในพื้นที่ 5. ติดตาม และ ประเมินผล 6. รายงาน สรุปผล Single command - ประชุมและวางแผนการปรับเปลี่ยนในระดับพื้นที่ เพื่อใหผูปฏิบัติงานมีความเขาใจใน แนวทางการปฏิบัติงาน - บูรณาการกับจังหวัด - ติดตามและรายงานผลทุก 2 สัปดาห ตอคณะทํางาน หนวยปฏิบัติงานในพื้นที่ การบูรณาการระดับจังหวัด - ชี้แจงแผนงานและสรางความเขาใจกับเกษตรกร - ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ - ดําเนินการในพื้นที่รวมกับเกษตรกร - ติดตอประสานงานด้านการตลาดรวมกับภาคเอกชน - รายงานผลงานทุก 2 สัปดาห ตอ Single Command - ใหคําแนะนําแกเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนการผลิตดวยตนเอง

40 แนวทางการขับเคลื่อนธนาคารสินค้าเกษตร
ธนาคารสินค้าเกษตร ระยะที่ 1 (ระยะเริ่มต้น) ธนาคารสินค้าเกษตร ระยะที่ 2 (ระยะพัฒนา) มาตรการที่ 1 เพิ่มขีดความสามารถธนาคารสินค้าเกษตร (กลุ่มเดิม) ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์( 87 แห่ง) ธนาคารโค-กระบือ (73 จังหวัด 109,000 ตัว) ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน(70 แห่ง) มาตรการที่ 2 ขยายผลการจัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตร เพื่อชุมชนตามความพร้อม (รายใหม่) ธนาคารปุ๋ยอินทรีย์( 75 แห่ง) ธนาคารโค-กระบือ (77 จังหวัด 9,000 ตัว) ธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชน(3 แห่ง) มาตรการที่ 3 จัดตั้งธนาคารสินค้าเกษตรในสถาบันเกษตรกร ธนาคารโคนมทดแทน (3 แห่ง) ธนาคารข้าวสถาบันเกษตรกร (10แห่ง) ขับเคลื่อนแผนพัฒนามาตรการ 1,2 และ 3 ในระยะ 1 แผนพัฒนามาตรการ 3 (เพิ่มกลุ่มเป้าหมาย) ธนาคารสินค้าเกษตรในสหกรณ์ ทุกจังหวัด 76 แห่ง ดำเนินการตามคู่มือ กลุ่มเป้าหมายตามแผนระยะที่ 1 คัดเลือกสหกรณ์เป็นธนาคารสินค้าเกษตรต้นแบบ 9 สหกรณ์ กลุ่มเป้าหมายตามแผนระยะที่ 1 ธนาคารสินค้าเกษตรต้นแบบ (ให้บิการที่หลากหลาย) ติดตามประเมินผล 1. ติดตามและรายงาน โดยจังหวัดคณะทำงานธนาคารสินค้าเกษตร 2. ประเมินผลโครงการสิ้นปีงบประมาณ (ก.ย. 59) และทำ RRA ตามสถานการณ์เร่งด่วนระหว่างปี 59 สามารถลดต้นทุนการผลิต และเกษตรกรได้รับประโยชน์ เตรียมการ/ จัดตั้งธนาคาร แนะนำ/ถ่ายทอดองค์ความรู้/ติดตาม (แห่ง/ราย) สนับสนุนปัจจัยการผลิต (แห่ง/ราย) สนับสนุนปัจจัยพื้นฐาน กิจกรรม


ดาวน์โหลด ppt การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google