ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Orientation for graduate students in Food Engineering
Advertisements

อินเดีย : มุมมองด้านการศึกษาที่เป็นความต้องการของสังคมไทย
การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมทันตสุขภาพในคลินิกเด็กดีจากแบบจำลองความเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุ Development of a Dental Health Promotion Program in Well Baby.
Orientation for undergraduate students in Food Engineering Food Engineering Program Department of Food Science and Technology Food Engineering – a hot.
กรมควบคุมโรคห่วงใย อยากเห็น คนไทยสุขภาพดี 1 Policy support for prevention HIV drug resistance นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐด้านสาธารณสุข
Thai Festivals Thai Festivals By..... Mrs. Atitaya Pimpa Foreign Language Department Sa School. Nan.
Tell me about your family
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
Thai youth in Agriculture Sector Situation: The average age of farmers in Thailand who is also living in agriculture increased. Agricultural sector is.
กลุ่ม rraid. What's your name. คุณชื่ออะไร = Miss Bangon Buntanoom How old are you. - คุณอายุเท่าไหร่ = Ages 36 Years What you have finished your course.
ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปึที่ 4 Grammar & Reading ครูรุจิรา ทับศรีนวล.
LOGO NLiS-TH Nutrition Landscape Information System Thailand
TEST FOR 3RD GRADERS IN THAILAND: COMPARATIVE STUDY Pimlak Moonpo Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Patronage Assoc. Prof. Dr. Maitree Inprasitha.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office Health System Research Institute The Universal Coverage Scheme in.
Skills Development and Lifelong Learning: Thailand in 2010s Tipsuda Sumethsenee Office of the Education Council Thailand’s Ministry of Education.
The Second ASEAN+3 Seminar on Poverty Reduction
Achieving equity for every children in Thailand
Education in THAILAND Evidence-based Policy
สมาชิก น.ส. กานต์ธีรา ปัญจะเภรี รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 21 น.ส. มินลดา เหมยา รหัสนักศึกษา ลำดับที่ 22 น.ส. กรกฎ อุดมอาภาพิมล รหัสนักศึกษา
น.พ.เฉวตสรร นามวาท ผู้อำนวยการสำนักวัณโรค
โครงการสนับสนุนและพัฒนาเครือข่ายระบบสุขภาพอำเภอ (District Health System) เขตเมืองและเขตชนบท ใน 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ดร.นพ.วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย เลขาธิการ.
สถิติและการวัดทางระบาดวิทยาที่ควรรู้
อัตราเกิด อัตราตาย และอัตราเพิ่ม ของประชากรจังหวัดพิจิตร ปี ปี 2559 (อัตราต่อปชก.พันคน)
บุคลากรสาธารณสุข รู้ทันประชาคมอาเซียน
โดย นางกองแก้ว ย้วนบุญหลิม หัวหน้าหน่วยวิชาการพยาบาล
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย
1. นี่เป็นสิ่งที่พระเยซูทรงทำ พระองค์ทรงรักษาทุกคน ที่เจ็บป่วยให้หายดี
ชัยเมศร์ อมรพลสมบูรณ์
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
Bulgaria บัลแกเรีย Mrs.Yordanka Ananieva.
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
ทิศทางการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
เรื่องราวของวันคริสต์มาส
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
การประเมินความจำเป็นด้านสุขภาพ Health Needs Assessment - HNA
อย่ากลัวสิ่งใดเลย Fear Nothing. อย่ากลัวสิ่งใดเลย Fear Nothing.
นวัตกรรมการบริการสารสนเทศ ในยุคประเทศไทย 4.0
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การควบคุมและตรวจสอบภายใน รองผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช ๒๕๖๐
Comprehensive School Safety
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
ASEAN - China Free Trade Agreement (ACFTA)
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
Scholarships Chayooth Theeravithayangkura
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ในบริบทกรมแพทย์ทหารเรือ
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต
1. พระเยซูทรงต้องการให้เราเป็น เหมือนพระองค์
ศปถ อำเภอ กับการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 27 พฤษภาคม 2562 ศปถ อำเภอ กับการป้องกันอุบัติเหตุทางถนน 27 พฤษภาคม 2562.
บทที่ 2 การวัด.
ร่าง พ.ร.บ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาด อาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ....
เป้าหมายโภชนาการระดับโลก พ.ศ.2568 (WHA Global Nutrition Targets 2025)
แพทย์หญิงประนอม คำเที่ยง
นโยบายการศึกษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 21 เมษายน 2559.
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 9 ความสัมพันธ์ระหว่างงานโภชนาการ กับการสาธารณสุข
การจัดบริการ PrEP พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
Thamuang Hospital Kanchanaburi Thailand
ORGANIC TOURISM.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน ความเท่าเทียม เพื่อเด็กไทยทุกคน ผลสำรวจที่สำคัญจากการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย Achieving equity for every children in Thailand Key findings from Multiple Indicator Cluster Survey 2015-2016

ประเด็นที่สำคัญ Key issues ภาวะโภชนาการและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Nutrition status and breastfeeding พัฒนาการของเด็กปฐมวัย Early childhood development การเข้าเรียนในชั้นประถมและมัธยมศึกษา Primary and secondary school attendance การไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ Children not living with father and mother การตั้งครรภ์วัยรุ่น Teen pregnancy ความรู้และทัศนคติต่อเอชไอวี/โรคเอดส์ Knowledge about HIV/AIDS and accepting attitude

6. 7% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี หรือประมาณ 2 6.7% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี หรือประมาณ 2.5 แสน คนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ปานกลางและรุนแรง รุนแรง Severe 1.5% 6.7% of children under 5 year-old or about 250,000 children are moderately and severely underweight. ปานกลางและรุนแรง Moderate and severe 6.7% * ภาวะโภชนาการของเด็ก เป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นสุขภาพโดยรวมของเด็ก เมื่อเด็กได้รับอาหารเพียงพอ ไม่เจ็บป่วยบ่อยๆ และได้รับการดูแลอย่างดี เด็กจะมีการเจริญเติบโต อย่างสมส่วน และถือว่าได้รับการเลี้ยงดูอย่างดี * * เป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ คือ การลดสัดส่วนของผู้ได้รับความทุกข์ทรมานอันเนื่องจากความหิวลงครึ่งหนึ่งระหว่าง พ.ศ. 2533-2558 การลดลงของความชุกของภาวะโภชนาการ จะช่วยให้บรรลุเป้าหมายการลดอัตราการตายของเด็ก น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ดูได้จากน้ำหนักเทียบกับอายุ เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -2 ถือว่ามีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐานปานกลางและรุนแรง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -3 ถือว่ามีน้ำหนักต่ำกว่ามาตรฐานรุนแรง อ้างอิงตามข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ.2558 โดยกรมการปกครอง 6.7% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 246,355 คน 1.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 55,154 คน * เปรียบเทียบข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ. 2558 จากเว็บไซต์กรมการปกครอง Based on 2015 data from Department of Public Administration

10. 5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี หรือ ประมาณ 3. 9 แสน คน 10.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี หรือ ประมาณ 3.9 แสน คน* มีภาวะทุพโภชนาการเรื้อรังปานกลางและรุนแรง ส่วนใหญ่อยู่ใน ภาคใต้ และ ภาคกลาง 11.8% 13.6% 9.8% 8.7% 10.5% of children under 5 year-old in Thailand or about 390,000 children are moderately and severely stunted. จากการสำรวจ มีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีที่มีภาวะทุพโภชนาการเรื้องรังปานกลางและรุนแรง อยู่ในภาคกลางและภาคใต้ คิดเป็นจำนวนประมาณกว่า 9แสนคน ภาวะทุพโภชนาการเรื้อรัง(เตี้ย, แคระแกร็น) ดูได้จากความสูงเทียบกับอายุ เด็กที่มีความสูงเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -2 ถือว่าเตี้ยและจัดอยู่ในกลุ่มทุพโภชนาการเรื้อรัง ปานกลางและรุนแรง เด็กมีความสูงเทียบกับอายุต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -3 ถือว่าอยู่ในกลุ่มภาวะทุพโภชนาการเรื้อรังรุนแรง อ้างอิงตามข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ.2558 โดยกรมการปกครอง 10.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 246,355 คน 1.5% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี = 55,154 คน * เปรียบเทียบข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ. 2558 จากเว็บไซต์กรมการปกครอง Based on 2015 data from Department of Public Administration

ผอม อ้วน about 300,000 children about 200,000 children 5.4% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี หรือ ประมาณ 2 แสนคน ผอม 8.2% ของเด็กไทยอายุต่ำกว่า 5 ปี หรือประมาณ 3 แสนคน อ้วน 5.4% of children under 5 year-old in Thailand or about 300,000 children are overweight. 5.4% of children under 5 year-old in Thailand or about 200,000 children are moderately and severely wasted. ภาวะทุพโภชนาการเฉียบพลัน (ผอม) ดูได้จากน้ำหนักเทียบกับความสูง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับความสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -2 ถือว่า ผอม และจัดอยู่ในกลุ่มทุพโภชนาการเฉียบพลันปานกลางและรุนแรง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับความสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ำกว่า -3 ถือว่าอยู่ในกลุ่มภาวะทุพโภชนาการเฉียบพลันรุนแรง ภาวะทุพโภชนาการเกิน (อ้วน) ดูได้จากน้ำหนักเทียบกับความสูง เด็กที่มีน้ำหนักเทียบกับความสูงต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานและมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมากกว่า +2 ถือว่า อ้วน * เปรียบเทียบข้อมูลจำนวนประชากร พ.ศ. 2558 จากเว็บไซต์กรมการปกครอง

23.1% ของคุณแม่ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เพียงอย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรก of children under 6 months received exclusive breastfeeding เป้าหมายยุทธศาสตร์ทางโภชนาการ ปี 2568 จากที่ประชุมสมัชชาอนามัยโลกคือส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียวในช่วงอายุ 0-6 เดือน ให้มีอัตราไม่ต่ำกว่า 50% (ปัจจุบันค่าเฉลี่ยทั่วโลกอยู่ที่ 39% อ้างอิงจากรายงาน World Health Statistics 2016 ขององค์การอนามัยโลก http://www.who.int/gho/publications/world_health_statistics/2016/en/) การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเลี้ยงดูเด็กด้วยนมแม่ในช่วง 1-2 ปีแรก จะช่วยป้องกันเด็กจากการติดเชื้อ เพราะเด็กได้รับอาหารที่มีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต ประหยัดและปลอดภัย อย่างไรก็ตามมีแม่จำนวนมากหย่านมเด็กเร็วเกินไป และเปลี่ยนไปให้นมผงสำเร็จรูปแก่เด็กแทน ซึ่งการกระทำเช่นนี้อาจเป็นสาเหตุให้การเจริญเติบโตของเด็กหยุดชะงักและเกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากขาดสารอาหารที่ช่วยในการเจริญเติบโตของเด็ก สำหรับการใช้นมผงเลี้ยงดูเด็กอาจไม่ปลอดภัยหากไม่มีน้ำสะอาดใช้ องค์การอนามัยโลก/ยูนิเซฟ กำหนดข้อแนะนำในการเลี้ยงลูก โดยเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในช่วง 1-2 ปีแรก มีประโยชน์หลายประการ เช่น 1) จะช่วยป้องกันเด็กจากการติดเชื้อ เพราะเด็กได้รับสารอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีประโยชน์ต่อการเจริญเติบโต 2) ก่อให้เกิดสายใยสัมพันธ์ทั้งทางกายภาพและอารมณ์ระหว่างแม่กับลูก 3) ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายของครัวเรือน องค์การอนามัยโลก กำหนดข้อแนะนำในการเลี้ยงลูก ดังนี้ ให้ลูกกินนมแม่ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด ให้ลูกกินนมแม่ต่อไปเป็นเวลา 2 ปี หรือมากกว่านั้น ให้อาหารเสริมที่ปลอดภัย เหมาะสม และเพียงพอ เมื่ออายุ 6 เดือน

42.0% สถานพยาบาลของรัฐ มีอัตราการให้ลูกกินนมแม่ ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอดมากกว่าสถานพยาบาลเอกชน Public health facility has higher rate of infants receiving breastfeeding within first hour of delivery than private health facility. 42.0% 24.8%

80.9% สถานพยาบาลของรัฐ มีอัตราการให้ลูกกินนมแม่ ภายในวันแรกหลังคลอดมากกว่าสถานพยาบาลเอกชน Public health facility has higher rate of infants receiving breastfeeding within first day of delivery than private health facility. องค์การอนามัยโลก กำหนดข้อแนะนำในการเลี้ยงลูก ดังนี้ ให้ลูกกินนมแม่ภายในชั่วโมงแรกหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในช่วง 6 เดือนแรกหลังคลอด ให้ลูกกินนมแม่ต่อไปเป็นเวลา 2 ปี หรือมากกว่านั้น ให้อาหารเสริมที่ปลอดภัย เหมาะสม และเพียงพอ เมื่ออายุ 6 เดือน 80.9% 54.7%

34.0% 62.8% แม่มีอัตราการร่วมทำกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้กับลูกมากกว่าคุณพ่อ Mothers engage in activities that promote learning with their children more than fathers. * ช่วงระยะ 3-4 ปี ของชีวิต เป็นช่วงที่สมองของเด็กมีการพัฒนาเร็วที่สุด และการเลี้ยงดูภายในบ้านเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการพัฒนาของเด็กในวัยนี้ ดังนั้น กิจกรรมระหว่างผู้ใหญ่และเด็ก หนังสือสำหรับเด็กในบ้าน และสภาพการเลี้ยงดูทางบ้าน เป็นตัวชี้วัดที่สำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก เป้าหมายของโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก คือ “ เด็กควรมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ความคิดอ่านที่ว่องไว มีอารมณ์มั่นคง สามารถดำรงตนอยู่ในสังคมได้ และพร้อมที่จะเรียนรู้” * ร้อยละ 92.7 ของเด็กมีสมาชิกในครัวเรือนที่เป็นผู้ใหญ่ร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และเตรียมความพร้อมในการเข้าโรงเรียนอย่างน้อย 4 กิจกรรมจาก 6 กิจกรรม โดยพบว่า แม่มีส่วนร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และเตรียมความพร้อมในการเข้าโรงเรียนมากกว่าพ่อเกือบ 2 เท่า

แม่ที่มีการศึกษาสูงกว่าระดับมัธยมศึกษา มีอัตราการร่วมทำกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้กับลูกมากกว่า แม่ที่ไม่มีการศึกษา Mothers with higher education engage in activities that promote learning with their children than mothers with no education ปัจจัยที่มีผลต่อการร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก ระดับการศึกษาของมารดา ในขณะที่เกือบ 9 ใน 10 ของคุณแม่ที่จบการศึกษาสูงกว่ามัธยมศึกษาร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก มีเพียงแค่ 4 ใน 10 ของคุณแม่ที่ไม่มีการศึกษาที่ร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก 88.8% 40.2%

ครอบครัวที่ร่ำรวยมาก มีอัตราการร่วมทำกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้กับลูกมากกว่าครอบครัวที่ยากจนมาก Household in richest quintile engage in activities that promote learning with the children more than household in poorest quintile. 45.6% 24.7% 87.1% 51.9% ปัจจัยที่มีผลต่อการร่วมทำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้กับลูก ฐานะครอบครัว ครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยมาก มีอัตราการร่วมทำกิจกรรมของพ่อแม่กับลูกมากกว่าครอบครัวที่มีฐานะยากจนมากประมาณ 2 เท่า

การเข้าเรียนในระดับปฐมวัย Early childhood education programme attendance 75.4% 94.1% 36-47 เดือน Months 48-59 เดือน Months การพัฒนาเด็กในช่วงปฐมวัยเป็นรากฐานของการพัฒนามนุษย์ ด้วยเหตุนี้ รัฐบาลไทยจึงตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาเด็กและเยาวชน ฉะนั้น เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2550 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเด็กปฐมวัย (0-5 ปี) ระยะยาว พ.ศ. 2550-2559 และได้มอบหมายให้กระทรวงต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับผิดชอบในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยมุ่งพัฒนาให้เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ สังคม และจริยธรรม พบความแตกต่างที่ชัดเจนเมื่อพิจารณาตามอายุของเด็ก ดังนี้ เด็กในช่วงปฐมวัย อายุระหว่าง 48-59 เดือนส่วนใหญ่ เข้าเรียนในหลักสูตรปฐมวัย แต่เด็กอายุระหว่าง 36-47 เดือน ยังมีอัตราการเข้าเรียนหลักสูตรปฐมวัยเพียงประมาณ 7 ใน 10

อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษา Primary school attendance การได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างทั่วถึงและการสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาของเด็กทั่วโลก เป็นเป้าหมายที่สำคัญประการหนึ่งของเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งในการต่อสู้กับความยากจน การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้หญิง การปกป้องเด็กจากความโหดร้ายและการแสวงหาประโยชน์จากแรงงานเด็ก รวมทั้งการถูกล่วงละเมิดทางเพศ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตย การปกป้องสิ่งแวดล้อม และมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของประชากร ในประเทศไทย เด็กเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาเมื่ออายุ 6 ปี และระดับมัธยมศึกษาเมื่ออายุ 12 ปี ทั้ง 2 ระดับนี้แบ่งการศึกษาออกเป็นระดับละ 6 ชั้น (ประถมศึกษาปีที่ 1-6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 1-6) โดยปกติ โรงเรียนเปิดภาคการศึกษาในเดือนพฤษภาคม และสิ้นสุดในเดือนกุมภาพันธ์ปีถัดไป สำหรับเด็กวัยเริ่มเข้าเรียนระดับประถมศึกษา (อายุ 6 ปี) ในประเทศไทย พบว่า อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับประถมศึกษาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 94.8% แต่มีข้อสังเกตคือ เด็กอายุ 6 ปี มีเพียง 75.7% ที่ได้เข้าเรียนระดับประถมศึกษาตามเกณฑ์อายุ ในขณะที่มี 22.5% กำลังเรียนระดับอนุบาล

ไม่มีการศึกษา No education สูงกว่ามัธยมศึกษา Higher education 3.1% 13.1% ระดับการศึกษาของมารดา Mother’s education เด็กตกหล่น Out of school สวัสดี แม่ไม่ได้รับการศึกษา จะมีแนวโน้มที่เด็กจะออกจากโรงเรียนประถมมากกว่าแม่ที่มีการศึกษาสูงกว่ามัธยมศึกษา เช่นเดียวกัน ในครอบครัวที่หัวหน้าครอบครัวไม่ได้พูดภาษาไทย จะมีแนวโน้มที่เด็กจะออกจากโรงเรียนประถมมากกว่าครอบครัวที่หัวหน้าครอบครัวพูดภาษาไทย ภาษาพูดของหัวหน้าครัวเรือน Language of household head ภาษาไทย Thai ภาษาอื่น Non-Thai 4.7% 10.4%

อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษา Secondary school attendance อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาโดยเฉลี่ยอยู่ที่ 81% และเป็นที่สังเกตว่าเด็กอายุ 12 ปี ยังมีเพียง 73.6% ที่ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาตามเกณฑ์อายุ โดย 23.9% ยังเรียนอยู่ในระดับประถมศึกษา ข้อสังเกตอีกอย่างคือ แนวโน้มของเด็กที่ได้เข้าเรียนระดับมัธยมศึกษาลดลงเมื่ออายุของเด็กมากขึ้น

การไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ Children not living with father and mother 32.0% 8.7% การไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ Children not living with father and mother ครัวเรือนที่ยากจนมาก Household in poorest quintile ครัวเรือนที่ร่ำรวยมาก Household in richest quintile อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ตระหนักดีว่าเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กอย่างสมบูรณ์และความสมัครสมานสามัคคี เด็กควรจะเติบโตในสภาพครอบครัวที่มีความรักและความเข้าใจกันเพื่อให้เกิดบรรยากาศของความสุข เด็กนับล้านคนทั่วโลกเติบโตโดยไม่ได้รับการดูแลจากพ่อแม่จากหลายสาเหตุ รวมทั้งการที่พ่อและแม่ได้เสียชีวิตก่อนวัยอันควรหรือต้องย้ายที่อยู่เพื่อไปทำงาน โดยส่วนใหญ่เด็กเหล่านี้จะได้รับการดูแลจากสมาชิกอื่น ๆ ของครอบครัว ขณะที่เด็กส่วนที่เหลืออาจจะอาศัยอยู่ในครัวเรือนของคนอื่นหรือเป็นลูกจ้างทำงานบ้าน การทำความเข้าใจเกี่ยวกับการอยู่อาศัยของเด็ก รวมทั้งองค์ประกอบของครัวเรือนที่พวกเขาอาศัยอยู่ด้วยและความสัมพันธ์ของพวกเขากับผู้ดูแลหลัก เป็นสิ่งสำคัญในการกำหนดมาตรการเข้าไปแทรกแซงโดยมุ่งหวังให้การสนับสนุนดูแลและความอยู่ดีกินดีของเด็ก ครอบครัวที่มีฐานะยากจนมาก จะมีแนวโน้มที่เด็ก ๆ จะไม่ได้อยู่กับพ่อและแม่ (ทั้งที่พ่อและแม่ยังมีชีวิตยู่) มากกว่าครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวยมาก

อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น Teen pregnancy ภาคเหนือ Northern 72 คนต่อ1,000 คน 72 per 1,000 women 51 คนต่อ 1,000 คน 51 per 1,000 women ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ สูงกว่ามัธยมศึกษา 3 คนต่อ1,000 คน แยกตามระดับการศึกษา สูงกว่ามัธยมศึกษา ประถมศึกษา 3 คน ต่อ 1,000 คน 3 per 1,000 women 104 คน 104 National average อัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นเฉลี่ยทั่วประเทศอยู่ที่ 51 คนต่อ 1,000 คน แต่กลุ่มที่น่าเป็นห่วงคือ ภาคเหนือ ซึ่งมีอัตราการตั้งครรภ์วัยรุ่นสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วประเทศ อยู่ที่ 72 คนต่อ 1,000 คน และ กลุ่มเด็กวัยรุ่นหญิงที่ไม่มีการศึกษา ซึ่งมีอัตราการตั้งครรภ์สูงถึง 104 คนต่อ 1,000 คน ประถมศึกษา 104 คนต่อ1,000 คน

เอชไอวี/โรคเอดส์ HIV/AIDS มีเพียงประมาณ ครึ่งหนึ่ง (49%) ของหญิงและชายอายุ 15-49 ปีที่เคยได้ยินเกี่ยวกับโรคเอดส์ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างดี Only half (49%) of male and female aged 15-49 years old who have heard of AIDS have comprehensive knowledge about HIV หนึ่งในตัวชี้วัดที่เป็นตัวชี้วัดของ MDG และ GARPR (เดิมคือ UNGASS) คือ ร้อยละของผู้ที่อายุยังน้อยที่มีความรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดีและถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและการแพร่เชื้อเอชไอวี นั่นคือ 1) ทราบว่าการใช้ถุงยางอนามัยระหว่างมีเพศสัมพันธ์และมีเพศสัมพันธ์กับคู่ครองที่ไม่ติดเชื้อและซื่อสัตย์เพียงคนเดียวสามารถลดการติดเชื้อเอชไอวีได้ 2) ทราบว่าผู้ที่ดูว่ามีสุขภาพดีอาจมีเชื้อเอชไอวีได้ และ 3) มีความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับการแพร่เชื้อที่มักเข้าใจผิดทั้ง 2 ข้อ ที่คนส่วนใหญ่ในประเทศไทยมักเข้าใจผิด คือ สามารถแพร่เชื้อเอชไอวีจากการถูกยุงกัดและการรับประทานอาหารร่วมกับคนเป็นเอดส์

ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวี แยกตามระดับการศึกษา และ ภาษาพูดของหัวหน้าครัวเรือน Knowledge about HIV By education and language of household head มัธยมศึกษาขึ้นไป ไม่มีการศึกษา 64.0% 62.6% 10.6% 14.8% สวัสดี ผู้ที่ได้รับการศึกษาตั้งแต่มัธยมขึ้นไปจะมีแนวโน้มที่จะมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างดีมากกว่า (มากกว่า 50% สำหรับการศึกษาระดับมัธยม และมากกว่า 60% สำหรับการศึกษาสูงกว่ามัธยม) เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้รับการศึกษา และครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนพูดภาษาไทย จะมีแนวโน้มที่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเชื้อเอชไอวีเป็นอย่างดีมากกว่าครัวเรือนที่หัวหน้าครัวเรือนไม่ได้พูดภาษาไทย ภาษาไทย ภาษาอื่น 51.1% 50.7% 24.5% 24.6%

ขอบคุณ Thank you