โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการเกษตรอย่าง ยั่งยืน
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน ความเป็นมา สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง โดยใช้ หลักการ ทฤษฎี และแนวทางแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรต่างๆ ของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน วัตถุประสงค์ 1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่เกษตรกรและชุมชน ด้วยการน้อมนำหลักการ ทฤษฎีและ แนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการเกษตรต่างๆ ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานไว้ 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรทำการเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต พัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐาน และเพิ่มรายได้ให้แก่เกษตรกรและชุมชน 3 เพื่อให้ ศพก. และเครือข่าย เป็นศูนย์กลางในการพัฒนาภาคการเกษตรของชุมชนมีส่วนร่วมแบบประชารัฐอย่างยั่งยืน
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน น้อมนำหลักการ ทฤษฎี และแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชฯ ได้พระราชทานไว้ 2 การปฏิรูปภาคการเกษตรให้เกิดผลสำเร็จ สร้างความเข้มแข็งให้ชุมชุม โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและดำเนินโครงการ หลักการ/แนวคิด ให้ความสำคัญกับการสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก 3 ใช้ ศพก. เป็นศูนย์การเรียนรู้การเกษตรของชุมชน และกลไกขับเคลื่อน การพัฒนาการเกษตร 4 การสร้างความเข้มแข็งให้กับกลไกการทำงานในพื้นที่ ทำให้ชุมชนมีความเข้มแข็งพึ่งพาตนเองได้ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์และนำไปปฏิบัติจริง 5
เป้าหมายพื้นที่ 9,101 ชุมชน คุณสมบัติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน เป้าหมายพื้นที่ : ชุมชนใน ศพก. หลัก 882 แห่ง ศพก. เครือข่าย 8,219 แห่ง คณะกรรมการระดับชุมชน 9,101 ชุมชน เป็นตัวแทนของชุมชน ในการสำรวจพื้นที่ วิเคราะห์ จัดเวทีชุมชน คุณสมบัติของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ เป็นเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรกับกรมส่งเสริมการเกษตร และทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ทุกสาขาอาชีพ รวมทั้งสมาชิก ศพก. และเครือข่าย จัดทำ โครงการ ขับเคลื่อนการ ดำเนินงานให้ เป็นไปตามแผน เป็นเกษตรกรที่มีความพร้อมในการเข้าร่วมโครงการที่ชุมชนให้ความเห็นชอบ เป็นเกษตรกรที่แสดงความจำนงและสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการตามหลักเกณฑ์และรายละเอียดของโครงการ/กิจกรรมที่ชุมชนเห็นชอบ กำกับ ติดตาม และ ตรวจสอบการใช้ จ่ายงบประมาณ เป็นเกษตรกรที่ผ่านการพิจารณาคัดเลือกจากคณะกรรมการฯ ระดับชุมชนให้เข้าร่วมโครงการ รายงานผล
เป้าหมาย : 9,101 ชุมชน ใน ศพก. หลัก 882 แห่ง ศพก. เครือข่าย 8,219 แห่ง สรุปโครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน ผลสัมฤทธิ์ : หลักการ : ชุมชนกำหนดโครงการผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและบริหารจัดการด้วยตนเอง ชุมชนที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้มแข็ง เกิดการเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ และก่อให้กระแสเงินหมุนเวียนในชุมชน มีการบริหารจัดการด้านการเกษตรตรงตามความต้องการของ ชุมชน เป้าหมาย : 9,101 ชุมชน ใน ศพก. หลัก 882 แห่ง ศพก. เครือข่าย 8,219 แห่ง ระยะเวลาดำเนินโครงการ : ก.ค. – ก.ย. 60 กระบวนการ : ปศุสัตว์ การผลิตพืชพันธุ์พืช การผลิต ปุ๋ยอินทรีย์ ฟาร์ม ชุมชน การผลิตอาหาร การแปรรูป การจัดการ ศัตรูพืช ประมง ปรับปรุง บำรุงดิน กรอบ 8 กลุ่มกิจกรรม CBO แก้ไข ประเด็นพิจารณา อยู่ในกลุ่มกิจกรรม - เป็นไปตามหลักเกณฑ์/เงื่อนไข ชุมชน สนง.กษจ. อนุมัติ กลุ่มดำเนินการ คณะกรรมการระดับชุมชน คณะกรรมการระดับอำเภอ นอกกลุ่มกิจกรรม - ต้องการความเห็นเพิ่มเติม - นายอำเภอ เป็นประธาน SC เป็นกรรมการ เกษตรอำเภอ เป็นกรรมการ/เลขา - พิจารณาอนุมัติโครงการ/แผน - จัดเวทีชุมชนให้กลุ่มเกษตรกร/ องค์กรเกษตรกร - คัดเลือกคณะกรรมการฯ ระดับชุมชน - จัดทำรายละเอียดโครงการ/แผน - เสนอคณะกรรมการระดับอำเภอ คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรฯ หลักเกณฑ์/เงื่อนไข - ผู้ว่าฯ เป็นประธาน - พิจารณาอนุมัติโครงการ/แผน แก้ไข
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการ พัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน จบการนำเสนอ