การถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
การจัดการความรู้ KM.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จ ของโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุน จากกองทุนสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รพีพร ขันโอฬาร สำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม ๑

หัวข้อนำเสนอ หลักการและเหตุผล ความเป็นมา แนวคิดในการดำเนินโครงการ ขั้นตอนในการดำเนินโครงการ ผลสำเร็จ/การนำไปใช้ประโยชน์ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ www.themegallery.com

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ หลักการและเหตุผล ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ กองทุนสิ่งแวดล้อม ให้เงินอุดหนุน อปท. สถาบันการศึกษา และ NGOs ด้านการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ไปแล้วกว่า ๒๐๐ โครงการ ถอดบทเรียนผลสำเร็จ หรือองค์ความรู้จากโครงการของด้านการส่งเสริมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๕ นำมาเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ได้รับทราบ และมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญ รวมทั้งเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ แนวคิดในการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๑) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะห์กระบวนการดำเนินงานของโครงการ ที่จะพัฒนาไปสู่ความยั่งยืนในการส่งเสริมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒) แนวคิดการถอดบทเรียน เป็นเครื่องมือในการสกัดองค์ความรู้จากผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ ทั้งในส่วนที่ประสบความสำเร็จและบทเรียนจากการดำเนินงาน โดยใช้ทั้งวิธีการบันทึก การเล่าเรื่องหรือพูดคุย การจัดเวทีการนำเสนอแลกเปลี่ยน รวมถึงการถอดบทเรียนจากวิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ แนวคิดในการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๓) แนวคิดการจัดการความรู้ สกัดความรู้ที่มีอยู่เป็นบทเรียน/ความรู้ ในรูปแบบชุดความรู้ที่เป็นรูปธรรม โดยคำนึงถึงขั้นตอนของการจัดการความรู้ทั้งกระบวนการ เพื่อนำความรู้ไปใช้และเกิดการต่อยอดความรู้เดิม ๔) แนวคิดการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม ทั้ง ๓ ระดับ คือ ระดับบุคคล ระดับกลุ่ม และระดับชุมชน เพื่อค้นหาองค์ความรู้ รวมทั้งการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบ ๕) แนวคิดการติดตามและประเมินผล ค้นหาผลสำเร็จหรือปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน รวมถึงผู้รับบริการที่ได้รับประโยชน์จากโครงการ

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๑. ศึกษา/วิเคราะห์/สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อกำหนดกรอบแนวคิด วิธีการ และขั้นตอนในการดำเนินการโครงการ ดังนี้ ๑) ข้อมูลสถานการณ์ปัญหาทรัพยากรฯ และสิ่งแวดล้อม และแนวทางการให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมที่ผ่านมาในภาพรวม ๒) ข้อมูลนโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนโยบายของคณะกรรมการกองทุนสิ่งแวดล้อม และอนุกรรมการฯ ๓) ศึกษา ทบทวนและวิเคราะห์ผลสำเร็จ ปัญหา อุปสรรค ในการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกองทุน ที่ผ่านมาในภาพรวม ๔

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๒. คัดเลือกกรณีศึกษาจากโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ๑) กำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกโครงการอย่างน้อย - โครงการที่เสร็จสิ้นไม่เกิน ๕ ปี /มีความพร้อมของข้อมูลและองค์ความรู้ในพื้นที่ และสามารถเข้าร่วมโครงการได้ - เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพและมีความสำเร็จเป็นรูปธรรม เพื่อเป็นกรณีตัวอย่างที่จะขยายผลในอนาคต ๔

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ - พื้นที่/กรณีศึกษาที่สะท้อนความเชื่อมโยงกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกระจายอยู่ตามภูมินิเวศต่างๆ - มีองค์ความรู้/บทเรียนและผลสำเร็จ สามารถนำไปปรับใช้เป็นต้นแบบในการทำงานที่ดี (Best practice) มีความสอดคล้องกับสถานการณ์และนโยบายในการพัฒนาประเทศ ในการส่งเสริมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน - เจ้าของโครงการหรือผู้รับผิดชอบโครงการ มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมในพื้นที่ และมีความยินดีและพร้อมที่จะเข้าร่วมดำเนินกิจกรรม ๔

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๒. คัดเลือกกรณีศึกษาจากโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ๒) ศึกษา ทบทวนเอกสารข้อมูลโครงการที่ได้คัดเลือกมาจากเกณฑ์ข้างต้นรวม ๒๓ โครงการ ทั้งในประเด็นเป้าหมาย ตัวชี้วัด ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลความต่อเนื่องยั่งยืนของโครงการ สรุปประเด็นองค์ความรู้ บทเรียนและความสำเร็จเบื้องต้นได้ทั้งหมด ๒๑ เรื่อง ซึ่งมีความหลากหลายของประเด็นตามภูมินิเวศทั้งพื้นที่ ต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ ๔

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๓. ถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จของโครงการ ๑) การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อค้นหาข้อมูลองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จในแต่ละโครงการ โดยการสัมภาษณ์ผู้ประสานงานโครงการและแกนนำของชุมชน การประชุมกลุ่มย่อย การใช้คำถามช่วยคิด การเล่าเรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเยี่ยมชมกิจกรรมในพื้นที่โครงการ การสังเกต ๒) การสอบทานข้อมูลองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จในแต่ละโครงการ และหาประเด็นเด่น ในแต่ละประเภทโครงการ และในภาพรวม โดยการจัดประชุมกลุ่มย่อย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๓. ถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จของโครงการ ๓) การสรุปองค์ความรู้/บทเรียน ผลสำเร็จ แบ่งเป็น ๓ ส่วน คือ - โครงการและผลงานเด่นในแต่ละภูมิภาค : ภาคเหนือ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ - ความรู้และประสบการณ์ด้านการจัดการทรัพฯ และสิ่งแวดล้อม: ด้านการจัดการป่าไม้ ด้านการจัดการเกษตร การจัดการ แหล่งน้ำ การจัดการชายฝั่งทะเล - กระบวนการ : การสื่อสารและรณรงค์สร้างจิตสำนึก กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา กลไกการจัดการสิ่งแวดล้อม

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๓. ถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จของโครงการ ๓) การสรุปองค์ความรู้/บทเรียน ผลสำเร็จ แบ่งเป็น ๓ ส่วน คือ - โครงการและผลงานเด่นในแต่ละภูมิภาค : ภาคเหนือ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ภาคกลางและภาคใต้ - ความรู้และประสบการณ์ด้านการจัดการทรัพฯ และสิ่งแวดล้อม: ด้านการจัดการป่าไม้ ด้านการจัดการเกษตร การจัดการ แหล่งน้ำ การจัดการชายฝั่งทะเล - กระบวนการ : การสื่อสารและรณรงค์สร้างจิตสำนึก กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา กลไกการจัดการสิ่งแวดล้อม

๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ขั้นตอนการดำเนินการ ๔. ขั้นตอนการพิจารณาโครงการ ๔. เผยแพร่องค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จ ๑) เรียบเรียงเนื้อหา ออกแบบ และจัดพิมพ์หนังสือ “จากต้นสาย สู่ ปลายน้ำ” ๒) ออกแบบและจัดทำชุดนิทรรศการ ๓) กำหนดแนวคิด รูปแบบ บทบรรยาย ภาพประกอบ ผลิตวิดิทัศน์ ๔) การจัดสัมมนาเผยแพร่และประเมินผลการสัมมนา ๕) ประชาสัมพันธ์ในช่องทางอื่นๆ เช่น การออกบูธ วารสารข่าว เว็บไซต์

ผลสำเร็จของงาน ๑. เกิดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จของโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๒. หนังสือ “จากต้นสาย สู่ปลายน้ำ” จำนวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม ๓. การถ่ายทอดและประชาสัมพันธ์องค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จของโครงการที่ได้รับการสนับสนุนเงินอุดหนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม ด้านการส่งเสริมและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้กลุ่มเป้าหมายได้รับทราบ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในท้องถิ่นของตนเองได้ ๑๐

การนำไปใช้ประโยชน์ หนังสือการถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จ ชื่อ “จากต้นสาย สู่ปลายน้ำ” จะเป็นข้อมูลให้กับหน่วยงานต่างๆ ที่สนใจจะดำเนินโครงการด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้นำไปประยุกต์ ใช้ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเอง เพื่อการต่อยอดและขยายผลต่อไป ๑๐

ความยุ่งยากในการดำเนินการ/ปัญหา/อุปสรรค ๑. กระบวนการการค้นหาองค์ความรู้ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ข้อพึงระวังจากผู้เข้าร่วมดำเนินโครงการ จะต้องใช้เทคนิค วิธีการ ในหลากหลายรูปแบบ ที่มีความแตกต่างกันไปในแต่ละประเภทโครงการ สภาพภูมิประเทศ สภาพสังคมและวัฒนธรรม รวมทั้งพฤติกรรม และบุคลิกภาพของแต่ละปัจเจกบุคคล เพื่อค้นหาความรู้ที่ฝังลึกอยู่ในตัวบุคคลนั้น ๒. การสอบทานข้อมูลองค์ความรู้ โดยใช้เวทีการประชุมกลุ่มย่อยจากหลากหลายโครงการ จะมีปัญหายุ่งยากในการนัดหมายผู้ที่เป็นแกนนำในการดำเนินโครงการให้มาเข้าร่วมประชุมพร้อมกันได้ ๑๐

ข้อเสนอแนะ ๑. กองทุนสิ่งแวดล้อมควรมีการถอดองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จของโครงการในประเภทโครงการอื่นๆ ด้วย เช่น โครงการก่อสร้างระบบการจัดการขยะและน้ำเสียขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงการการจัดมลพิษของภาคเอกชน ๒. กองทุนสิ่งแวดล้อมควรมีการดำเนินการถอดบทเรียนทุก ๕ ปี และนำองค์ความรู้/บทเรียน และผลสำเร็จ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนทั่วไปได้รับทราบ ๑๐