งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการความรู้ KM.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการความรู้ KM."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการความรู้ KM

2 1. KV ตามพันธกิจที่กรมส่งเสริมการเกษตร มอบหมาย
เอกสารประกอบการชี้แจง เรื่อง การจัดการความรู้ (KM) ของสำนักงานเกษตรอำเภอ/จังหวัดระนอง ปี 2551 ในเวที DW วันพุธที่ 18 มิถุนายน 2551 ณ กระบุรีโฮมเตย์ หมู่ที่ 2 ตำบลน้ำจืด อำเภอกระบุรี จังหวัดระนอง * * เอกสาร 1 1. KV ตามพันธกิจที่กรมส่งเสริมการเกษตร มอบหมาย KV เป้าหมายในการจัดการความรู้ KS การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KA คลังความรู้ KS เรื่องเล่า/อำเภอ การสกัดองค์ความรู้ Best Practice (BP) เรื่อง/อำเภอ 1) การพัฒนาองค์กรเกษตรกรและ วิสาหกิจชุมชน 2) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน 3) การลดต้นทุนพืชยุทธศาสตร์จังหวัด ระนอง (มังคุด ลองกอง ปาล์มน้ำมัน)  จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  สืบค้นจากเอกสาร  ชุมชนนักปฏิบัติ / DW  ระบบพี่เลี้ยง 2 3 (จังหวัดดำเนินการ) 1 รวม 23 เรื่อง รวม 13 องค์ความรู้

3 KV เป้าหมายในการจัดการความรู้ KS การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
เอกสาร 2 2. KM ตามพันธกิจที่จังหวัดระนอง มอบหมาย KV เป้าหมายในการจัดการความรู้ KS การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ KA คลังความรู้ KS เรื่องเล่า/อำเภอ การสกัดองค์ความรู้ Best Practice (BP) เรื่อง/อำเภอ พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านจังหวัดระนอง  จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  สืบค้นจากเอกสาร  ชุมชนนักปฏิบัติ / DW  ระบบพี่เลี้ยง อำเภอละ 3 เรื่อง อำเภอละ 2 องค์ความรู้ รวม 15 เรื่อง รวม 10 องค์ความรู้ 3. เวลาดำเนินการ กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน รวม 3 เดือน

4 กิจกรรม 1. ชม VCD การจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร (ความยาว 17 นาที)
2. แบ่งกลุ่ม คละอำเภอ กลุ่ม 1. พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านระนอง มีอะไรบ้าง 2. องค์ความรู้ด้านพืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านระนอง ที่จำเป็นต้องใช้ประโยชน์ ในงานส่งเสริมการเกษตร เช่น 1. ชื่อถิ่น ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร์……… ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ และการขยายพันธุ์ แหล่งที่พบในจ.ระนอง …….. 3. คุณค่าทางโภชนาการ………………………. 4. สรรพคุณทางยา…………………………. 5. วิธีใช้ประโยชน์ทั้งทางยาและทางอาหาร………………………… 6. อื่น ๆ เช่น การประยุกต์ใช้ ……………………………… 7. ข้อจำกัด เช่น โทษ สารพิษ 8. ภาพประกอบ

5 3. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1. สืบค้นจากเอกสาร 2. เวทีชุมชนให้ปราชญ์ชาวบ้านเล่าเรื่อง 3. สรุปเรื่องเล่า เป็น Best Practice 4. ประมวล กลั่นกรอง 5. นำเสนอในเวที DW ครั้งต่อไป 6. เผยแพร่/ลงเว็บไซต์/รวมเล่ม /ใช้ประโยชน์

6 เป้าหมายในการจัดการความรู้
แผนปฏิบัติการ อำเภอ KV เป้าหมายในการจัดการความรู้ ผู้รับผิดชอบ ตัวชี้วัด กำหนดส่ง เรื่องเล่า องค์ความรู้ BP ภารกิจกรมส่งเสริมการเกษตร 1. การพัฒนาองค์กรเกษตรกรและ วิสาหกิจชุมชน องค์ความรู้ที่ 1 เรื่อง องค์ความรู้ที่ 2 เรื่อง 1 25 ก.ค.51 2. ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร ที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน 22 ส.ค.51 3. การลดต้นทุนพืชยุทธศาสตร์ - ภารกิจจังหวัดระนอง 4. พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านระนอง องค์ความรู้ที่ 3 เรื่อง 2 19 ก.ย.51

7 ตัวอย่างแบบฟอร์ม เรื่องเล่า
ประเด็น สถานที่จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ วันที่จัดทำ KM เดือน พ.ศ สมาชิก คน ผู้เล่าเรื่อง เนื้อหา

8 การจัดการความรู้ (Knowledge Management, KM)
ภายใต้กิจกรรม  การพัฒนาองค์กรเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชน 2.  ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรที่ปลอดภัยและได้มาตรฐาน 3.  พืชสมุนไพรและผักพื้นบ้านจังหวัดระนอง สถานที่จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คน เจ้าหน้าที่ ประกอบด้วย ตำแหน่ง (คุณเอื้อ) ตำแหน่ง (คุณอำนวย) ตำแหน่ง (คุณกิจ) ตำแหน่ง (คุณลิขิต) ประเด็น สรุปประสบการณ์จัดการความรู้ (KM) (ผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้/เรื่องเล่า)

9 ตัวอย่างผักพื้นบ้านจังหวัดระนอง
อ.เมืองระนอง ได้แก่ - กระเจี๊ยบแดง (ส้มพม่า) ยอดกาหยู - ใบชะพลู ตัวอย่างผักพื้นบ้านจังหวัดระนอง 1. ผักเหลียง 2. ผักกูด 3. ผักหวานป่า (ผักพูม) 4. ข่าเหลือง 5. ผักกุ่ม 6. ผักหนาม 7. ผักเสี้ยน 8. ลูกเหรียง 9. สะตอ 10. กระถิน 11. ชะอม 12. ส้มป่อย 13. ฝักเพกา 14. หยวกปุด หยวกทือ 16. กระเจี๊ยบแดง (ส้มพม่า) 17. มันปู 18. ใบทำมัง 19. ชะมวง 20. หัวแส้ 21. ยอดมะม่วงหิมพานต์ 22. ยอดหมุย 23. ส้มงั่ว 24. ยอดเสม็ด 25. ส้มแป้นขี้ม้า 26. ตะลิงปิง 27. ยอดลำเท็ง 28. ผักใบยอ 29. ยอดมะขามอ่อน 30. มะระขี้นก 31. ยอดยอง 32. ผักกาดนกเขา 33. ใบชะพลู 34. ผักชีล้อม อ.กระบุรี ได้แก่ - ผักกูด ผักกุ่ม - ผักหนาม อ.กะเปอร์ ได้แก่ - ข่าเหลือง ขมิ้น - ส้มป่อย อ.ละอุ่น ได้แก่ - ผักเหลียง ผักพูม - สะตอ อ.สุขสำราญ ได้แก่ - ผักหวานบ้าน ตะไคร้ - มันปู

10 ขอขอบคุณ วสันต์ สุขสุวรรณ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการความรู้ KM.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google