กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

บทที่ 2 การลงทุนในหุ้นสามัญ
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทนำ บริษัทในเครือมักจะมีธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกัน
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 6 งบประมาณ.
การจัดซื้อจัดจ้าง.
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
1.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
คำแนะนำ นายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ. ศ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บัญชีกลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน. ประเด็นสำคัญ  การปฏิบัติการเบื้องต้นเกี่ยวกับ การเงินการบัญชี  ขั้นตอนการจัดทำบัญชี  การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับ 1. การรับเงินค่าหุ้น.
สัญญาก่อสร้าง.
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานการสอบทาน รหัส 2410
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
Analyzing and Recording Business Transactions
การบัญชีเบื้องต้น Basic Accounting
บทที่ 5 การประมวลผลรายการค้า
บทที่ 11 วงจรรายจ่าย.
วัฏจักรทางการบัญชีและการวิเคราะห์รายการค้า
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
การปรับปรุงบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นที่ 3 การเตรียมการจ่ายชำระค่าสินค้าหรือบริการ กระบวนการเตรียมจ่ายชำระค่าสินค้า โดยเริ่มจากการนำใบแจ้งหนี้หรือใบกำกับสินค้าที่ได้รับจากบริษัทผู้ขายมาตรวจสอบความถูกต้องกับข้อมูลในใบรับสินค้าและใบส่งสินค้าที่ได้รับจากฝ่ายคลังสินค้า.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวปฏิบัติทางการบัญชี มาตรฐานการบัญชีภาครัฐ และ การนำเสนองบการเงิน
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
บทที่ 1 กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
บทที่ 1 วิวัฒนาการของรายงานทางการเงิน
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
กระดาษทำการและการปิดบัญชี
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 9 สมุดรายวันเฉพาะและสมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น ACCOUNTING ความหมายของการบัญชี การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จำแนก และทำสรุป ข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีคือ การให้ข้อมูลทางการเงิน ซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่สนใจในกิจกรรมของกิจการ กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น จำแนก  สมุดบัญชีแยกประเภท ทำสรุป  งบทดลอง ทำรายงานทางการเงิน  งบการเงิน

คำนิยาม สินทรัพย์ หมายถึง ทรัพยากรที่อยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรซึ่งเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต คาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิง ศก.ในอนาคต หนี้สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ซึ่งเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต คาดว่าจะสูญเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจ ส่วนของเจ้าของ (ทุน) หมายถึง ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสินออกแล้ว (ทุน = สินทรัพย์ – หนี้สิน)

คำนิยาม รายได้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรูปกระแสเข้าหรือการเพิ่มค่าของสินทรัพย์ หรือการลดลงของหนี้สิน อันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รับจากผู้มีส่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ ค่าใช้จ่าย หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี ในรูปกระแสเงินสดออกหรือการลดลงของสินทรัพย์ หรือการเพิ่มขึ้นของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง ทั้งนี้ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนให้กับผู้มีส่วนร่วมในส่วนของเจ้าของ

วงจรบัญชี แยกประเภท สมุดรายวัน งบทดลอง เอกสาร/รายการค้า รายการปรับปรุง รายการเปิดบัญชี งบทดลองหลังปรับปรุง งบการเงิน ปิดบัญชี งบทดลองหลังปิดบัญชี

การวิเคราะห์รายการค้า (Analyzing Transactions) วิเคราะห์รายการค้าและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ระบุผลกระทบของรายการค้าที่มีต่อสมการบัญชี ควรวิเคราะห์ต่อด้วยว่ามีผลกระทบต่องบการเงินใดบ้าง

เอกสารประกอบการลงบัญชี เอกสารที่ใช้ประกอบการลงบัญชี หมายถึง บันทึก หนังสือหรือเอกสารใดๆที่ใช้เป็นหลักฐานในการลงรายการในบัญชีหรือประกอบการลงบัญชี ซึ่งอาจจะได้รับจากหน่วยงานภายนอก ได้แก่ ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับสินค้าจากผู้ขาย เป็นต้น รวมทั้งเอกสารที่หน่วยงานจัดทำขึ้น เช่น ใบเสร็จรับเงินออกให้แก่ผู้ซื้อ ใบสำคัญจ่าย เป็นต้น

ประเภทของเอกสารประกอบการลงบัญชี เอกสารประกอบการลงบัญชี จำแนกได้ 3 ประเภท คือ 1.เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีที่จัดทำขึ้นโดยบุคคลภายนอก เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของ ใบกำกับสินค้าที่ผู้ขายออกให้ เป็นต้น 2.เอกสารที่ต้องใช้ประกกอบการลงบัญชีที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี ออกให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อเป็นหลักฐานการซื้อ-ขายแลกเปลี่ยน การรับเงินและรายการทางธุรกิจที่ต้องติดต่อกับบุคคลภายนอก 3.เอกสารที่ต้องใช้ประกอบการลงบัญชีที่จัดทำขึ้นโดยผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี เพื่อใช้ในกิจการของตนเอง เช่น ใบเสร็จรับเงิน ใบส่งของหรือใบกับสินค้า เป็นต้น

รายการค้า (Business Transaction) หมายถึง เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนหรือโอนสิ่งของอันมีค่าเป็นเงินตราระหว่างกิจการกับบุคคลต่างๆ การวิเคราะห์รายการค้า หมายถึง การแยกแยะว่าเหตุการณ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นแต่ละครั้งมีผลกระทบกับ สินทรัพย์ หนี้สิน และทุนอย่างไร ซึ่งจะอธิบายได้โดยอาศัยสมการบัญชี

การบันทึกบัญชีในระบบบัญชีคู่ (Double-entry System) หมายถึง วิธีการที่ใช้ปฏิบัติในการบันทึกรายการบัญชี ต่าง ๆ ในสมุดบัญชี โดยการบันทึกแต่ละรายการจะเกี่ยวข้อง กับบัญชี 2 ด้านคือ 1. ด้านซ้ายมือ คือ เดบิต (Debit: Dr.) มีผลทำให้ สินทรัพย์เพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายเพิ่ม หนี้สินลดลง ทุนลดลง รายได้ลดลง

2. ด้านขวามือ คือ เครดิต (Credit: Cr.) มีผลทำให้ หนี้สินเพิ่มขึ้น รายได้เพิ่ม ทุนเพิ่ม สินทรัพย์ลดลง ค่าใช้จ่ายลดลง สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน Dr.+ Cr.- Dr.- Cr.+ Dr.- Cr.+ รายได้ ค่าใช้จ่าย Dr.- Cr.+ Dr.+ Cr.-

2. หนี้สิน ลด เพิ่ม 5. ค่าใช้จ่าย เพิ่ม ลด 1. สินทรัพย์ เพิ่ม ลด 3. ทุน ลด เพิ่ม 4. รายได้ ลด เพิ่ม หมวด Dr. Cr.

เพิ่ม ลด คงเหลือ Dr. Cr. Dr. Cr. Dr. Cr. Cr. Dr. Cr. Cr. Dr. Cr. Dr. การบันทึกบัญชี เพิ่ม ลด คงเหลือ สินทรัพย์ Dr. Cr. Dr. Cr. Dr. Cr. หนี้สิน Cr. Dr. Cr. ส่วนของเจ้าของ Cr. Dr. Cr. รายได้ Dr. Cr. Dr. ค่าใช้จ่าย

สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน สมการบัญชี สินทรัพย์ = หนี้สิน + ทุน ผลการดำเนินงาน กำไร/ขาดทุน = รายได้ - ค่าใช้จ่าย กำไร/ขาดทุน  โอนไปกำไรสะสม  ทุน รายได้  ทำให้ทุนเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่าย  ทำให้ทุนลดลง

รายการค้า ณ วันที่เริ่มดำเนินกิจการ (ม.ค. 50) รายการค้า ณ วันที่เริ่มดำเนินกิจการ (ม.ค. 50) 1. ลงทุนโดยเจ้าของ 2 ม.ค. 50 นายนนทรี นำเงินสดมาลงทุน 200,000 บาท 2. ซื้อที่ดินเพื่อทำที่จอด ซื้อที่ดินเพื่อใช้ทำที่จอดรถ ราคา 180,000 บาท 3. รับรายได้เป็นเงินสด มีรายได้จากการใช้เช่าที่จอดรถเป็นเงิน 24,000 บาท 4. จ่ายค่าโฆษณา จ่ายค่าโฆษณา เป็นเงิน 4,000 บาท จ่ายเงินเดือน จ่ายเงินเดือน ให้ลูกจ้างที่ทำหน้าที่ดูแลที่จอดรถเป็นเงิน 16,000 บาท รายได้ที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ ระหว่างเดือนมีลูกค้ามาเช่าที่ดินจอดรถ โดยตกลง จะจ่ายชำระเงินสดภายในวันที่ 15 ก.พ. 50 เป็นเงิน 8,000 บาท 7. เจ้าของถอนใช้ส่วนตัว ในวันที่ 31 ม.ค. 50 นายนนทรี ถอนเงินสด 10,000 บาท ไปใช้เป็นค่าใช้จ่ายส่วนตัว

ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้า รายการที่ 1 ลงทุนโดยเจ้าของ 2 ม.ค. 50 นายนนทรี นำเงินสดมาลงทุน 200,000 บาท รายการที่ 2 ซื้อที่ดินเพื่อทำที่จอดรถ นายนนทรี ซื้อที่ดินเพื่อใช้ทำที่จอดรถ ราคา 180,000 บาท

รายการที่ 3 รับรายได้เป็นเงินสด มีรายได้จากการใช้เช่าที่จอดรถเป็นเงิน 24,000 บาท รายการที่ 4 จ่ายค่าโฆษณา จ่ายค่าโฆษณา เป็นเงิน 4,000 บาท

รายการที่ 5 จ่ายเงินเดือน จ่ายเงินเดือน ให้ลูกจ้างที่ทำหน้าที่ดูแลที่จอดรถเป็นเงิน 16,000 บาท รายการที่ 6 รายได้ที่ยังไม่ได้เรียกเก็บ ระหว่างเดือนมีลูกค้ามาเช่าที่ดินจอด รถโดยตกลงจะจ่ายชำระเงินสดภายในวันที่ 15 ก.พ. 50 เป็นเงิน 8,000 บาท

รายการที่ 7 เจ้าของถอนใช้ส่วนตัว ในวันที่ 31 ม.ค. 50 นายนนทรี ถอนเงินสด 10,000 บาท ไป ใช้เป็นค่าใช้จ่ายส่วนตัว

การบันทึกบัญชีในสมุดรายวัน สมุดบัญชีขั้นต้น ใช้สำหรับบันทึกรายการค้าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเป็นอันดับแรกโดยเรียงลำดับก่อนหลังของรายการที่เกิดขึ้น แล้วจึงนำไปบันทึกในสมุดขั้นปลาย (สมุดบัญชีแยกประเภท) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) 2. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal)

ตัวอย่าง การบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นในระหว่างเดือนมกราคม 25xx รายการค้าของร้านสมจิตซักแห้ง มีดังนี้ 25xx มค. 2 จ่ายค่าโฆษณา 160 บาท 4 ซื้อวัสดุสำนักงาน 95 บาท 5 จ่ายซื้อน้ำยาซักแห้งเป็นเงินเชื่อ 870 บาท 6 รายได้จากการซักรีด 2,940 บาท 10 นำเงินไปฝากธนาคาร 10,000 บาท 16 นายสมจิตถอนเงินไปใช้ส่วนตัว 350 บาท 24 จ่ายชำระเจ้าหนี้ 3,000 บาท ด้วยเช็ค 29 จ่ายค่าน้ำ-ไฟฟ้า-โทรศัพท์ 174 บาท 31 จ่ายค่าแรงงาน 1,000 บาท

การบันทึกรายการค้าและสมุดรายวันทั่วไป

การบันทึกรายการค้าและสมุดรายวันทั่วไป (ต่อ)

?? ?? End of Chapter 3