การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเสริมศักยภาพ(Empowerment) ผ่านพื้นที่ปฏิบัติการจริง ๑๓ พื้นที่
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่” สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาและขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพื้นที่สู่การพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนและมีการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพให้เกิดเป็นรูปธรรม ๑ สร้างการเรียนรู้ที่เน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเสริมศักยภาพ(empowerment)จากประสบการณ์จริงเพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในพื้นที่ ๒ สร้างความร่วมมือ(collaboration)ในการพัฒนาร่วมกันระหว่างองค์กรภาคีและเครือข่ายในพื้นที่ ๓
คณะทำงานระดับพื้นที่ (ทีมขับเคลื่อน) คณะทำงานระดับจังหวัด กลไกคณะทำงาน ๓ ระดับ (สปสช.เขต ,สสจ. ,อปท. ,มหาวิทยาลัย, ภาคประชาชน ,NGO ในพื้นที่) คณะทำงานระดับเขต บทบาท : เชื่อม ประสาน และออกแบบกระบวนการพัฒนาศักยภาพพื้นที่เป้าหมายให้เกิดการทำงานอย่างต่อเนื่อง บริหารจัดการในพื้นที่ และอื่นๆ ตามความเหมาะสม คณะทำงานระดับพื้นที่ (ทีมขับเคลื่อน) คณะทำงานระดับจังหวัด คณะทำงานระดับเขต ทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด และอำเภอ (สสจ. ,สสอ.,รพ. ,มหาวิทยาลัย, จังหวัด ฯลฯ) กลไกพื้นที่ คณะทำงานธรรมนูญสุขภาพระดับชุมชนท้องถิ่น/ท้องที่/ผู้นำศาสนา/หน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ (กองทุนตำบล.,กำนัน,ผู้ใหญ่บ้าน, อสม.,ผู้นำชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน,ภาครัฐในพื้นที่ ฯลฯ) บทบาท : เชื่อม ประสาน และออกแบบกระบวนการพัฒนาศักยภาพพื้นที่เป้าหมายให้เกิดการทำงานอย่างต่อเนื่อง บริหารจัดการในพื้นที่ และอื่นๆ ตามความเหมาะสม ขับเคลื่อน จัดทำธรรมนูญสุขภาพเฉพาะพื้นที่ การพัฒนาศักยภาพการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพทำให้ประชาชนในพื้นที่เกิดการรับรู้ เข้าใจ นโยบายสาธารณะธรรมนูญสุขภาพระดับพื้นที่
แผนการพัฒนาศักยภาพ (Capacity Building CB) CB ๑ พัฒนาศักยภาพพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกิด learning process center ระดับพื้นที่ สามารถแลกเปลี่ยนกับพื้นทีอื่นๆได้ และร่วม ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่กลับมาใช้ในพื้นที่ มีศักยภาพในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ CB ๒ พัฒนาศักยภาพ การหนุนเสริมพื้นที่ คณะทำงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป้าหมายไปเรียนรู้ในพื้นที่ต้นแบบ (คณะทำงานขับเคลื่อนระดับพื้นที่ๆละไม่เกิน ๑๐ คน คำนึงพื้นที่มีจตุพลัง ท้องที่ ท้องถิ่น ท้องทุ่ง ภาครัฐในพื้นที่) CB ๓ พัฒนาศักยภาพให้กับกลไกคณะทำงาน ๓ คณะ แบบคู่ขนาน (พัฒนา ขับเคลื่อน แลกเปลี่ยน ระดับพื้นที่ ตำบล และอื่นๆ การเป้าหมาย + วิเคราะห์ข้อมูล + จัดทำแผน (๒ วัน ๑ คืน) CB ๔ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างการพัฒนา เช่น การสรุปบทเรียนใน พื้นที่ CB๕ เวทีวิชชาการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับประเทศ(พื้นที่ที่มีผล ปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรม ปลายปี ๕๙)
การหารือร่วม สปสช. -สช-ที่ปรึกษา รมต การหารือร่วม สปสช.-สช-ที่ปรึกษา รมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และแกนกลไกขับเคลื่อน เขตฯ ได้ข้อสรุป 6 เรื่องที่สำคัญ ๑) เน้นการวางระบบงานและให้ Steering committee ๒) มีกลไกร่วมระหว่างหน่วยงาน สช-สปสช. (ที่ประชุมให้เชื่อม สสส. มาร่วมด้วย) และเชื่อมระดับพื้นที่เป้าหมาย-จังหวัด-เขต-ส่วนกลาง ๓) มีการจัดการ(Management) ร่วมกัน โดยมีพัฒนา Birateral- Project สช.-สปสช. และอื่นๆ ๔) วางระบบสนับสนุน (Supporting system) การพัฒนาศักยภาพ แกน พื้นที่,การจัดทำสื่อชุมชน,นักสานพลังธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ เป็นพี่ เลี้ยงพื้นที่,การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๕) พัฒนาระบบประเมินผลตนเอง self assessment และแบบเสริมพลัง (EE) อื่นๆ จะมีการจัด WS ร่วม สช-สปสช.-สสส.-สธ และองค์กรภาคีที่ เกี่ยวข้อง ในพื้นที่ เขต ๘ อุดรธานี วันที่ ๕-๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ข้อคิดการทำธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ มีกลไกที่รับผิดชอบธรรมนูญสุขภาพชัดเจน คณะทำงานต่าง ๆ ต้องยึดหลักการ มาจากทุกภาคส่วน ต้องมีแผนและยุทธศาสตร์ในการทำงาน มีการปฏิบัติจริง และต่อเนื่อง การสื่อสารกันในทีม และกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง ด้วยช่องทางที่หลากหลาย
ข้อคิดการทำธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ (ทางการและไม่เป็นทางการ) สร้างจิตสำนึกการทำงานเพื่อสาธารณะ ทั้งระดับบุคคล กลุ่ม และชุมชน มีระบบสนับสนุนงบประมาณอย่างต่อเนื่อง ทำแล้วได้องค์ความรู้ใหม่ ที่นำไปสู่การปฏิบัติ เป็นนวัตกรรมใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง มีข้อมูลและการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง
WE walk Together