empowering communication

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
Advertisements

การจัดทำระบบฐานข้อมูล นิสิต คณะทรัพยากรธรรมชาติและ อุตสาหกรรมเกษตร.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ขั้นตอนการบันทึกประวัติ และลงทะเบียนสำหรับ นักศึกษาใหม่
Cambridge Placement Test METRICA
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การสอบประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษ
สำนักนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เอกสารแนะนำการใช้งานระบบจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทะเบียนพาณิชย์ (เบื้องต้น) โดย นายพชร อินทรวรพัฒน์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า.
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
การอบรม การใช้ศูนย์ กำลังคน อาชีวศึกษา วันจันทร์ที่ 12 ตุลาคม 2558 ณ ห้องโสตทัศนศึกษา วิทยาลัย อาชีวศึกษาอุดรธานี cop.net.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
คู่มือสำหรับผู้สมัครงาน ระบบนัดพบตลาดงานเชิง คุณภาพ ( นัดพบ IT )
วรกร สุพร งานนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน สำนักงาน กศน. จังหวัดขอนแก่น.
ขั้นตอนการใช้บริการต้องทำอย่างไร  สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ ตรวจสอบข้อมูลสถานประกอบกิจการในระบบ ที่
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
การประชุมซ้อมความเข้าใจการลงทะเบียนและ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ใน Word 5 วิธีใหม่ๆ ในการทำงาน ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้จากทุกที่
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
ผู้วิจัย นายอภิสิทธิ์ แก้วฟู วิทยาลัยอาชีวศึกษาจันทร์รวี
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
“ อสม. 4.0 ”.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
SMS News Distribute Service
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

empowering communication

About Speexx _ เริ่มพัฒนาตั้งแต่ปี 1994, เมืองมิวนิค ประเทศเยอรมนี _ ปัจจุบันมีผู้ใช้งานมากกว่า 8,000,000 คนทั่วโลก. _ บทเรียนถูกพัฒนามาจากมาตรฐาน Common European Framework of Reference for Languages _ เป็นบทเรียนระดับโลกที่มีการปรับแต่งให้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ _ ได้รับมาตรฐาน SCORM สามารถใช้งานร่วมกับ e-learning ของลูกค้าได้อย่างสมบูรณ์ _ ใช้เทคโนโลยี Cloud Computing

SPEEXX main features: What is it in Speexx? เนื้อหาครอบคลุมตั้งแต่ระดับเริ่มต้น - ระดับธุรกิจ แบบฝึกหัดมากกว่า 30,000 แบบฝึกหัด พร้อม รูปแบบการฝึกมากกว่า 40 แบบ แบบทดสอบวัดระดับภาษาอังกฤษ ระบบอธิบายข้อผิดพลาดเมื่อผู้เรียนทำแบบฝึกหัดผิด ระบบพจนานุกรมเสียงพร้อมคำแปลภาษาไทย ระบบฝึกการออกเสียง เนื้อหาที่อัพเดทอยู่ตลอดเวลา

24/7 เรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ | รองรับทุกอุปกรณ์การใช้งาน

8 ระดับการเรียนรู้ A1 | A2 | B1.1 | B1.2 | B2.1 | B2.2 | C1.1 | C1.2 & ตารางเปรียบเทียบมาตราฐาน TOEIC, IELTS and TOEFL

Who we work for (October 2011 – present) ภาคการศึกษา (มากกว่า 60 สถานศึกษา) โรงเรียน มหาวิทยาลัย วิทยาลัย/อาชีวศึกษา ตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2011 จนถึงปัจจัน Speexx ได้ทำงานกับใครบ้าง หน่วยงานภาครัฐและเอกชน (มากกว่า 30 หน่วยงาน)

เริ่มเข้าโปรแกรม เปิดเบราเซอร์เพื่อเข้าเว็บไซต์ speexx โดยเลือกใช้ได้ทั้ง Chrome(แนะนำ), Internet Explorer(V.9 ขึ้นไป), Firefox, Safari ตัวอย่าง http://etraining.yru.ac.th

หากพบปัญหาเรื่องการลงชื่อเข้าใช้ระบบ e-Training http://etraining.yru.ac.th ระบุ ชื่อบัญชีผู้ใช้ และ รหัสผ่าน จากนั้นกดปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” หากพบปัญหาเรื่องการลงชื่อเข้าใช้ระบบ e-Training ติดต่อศูนย์คอมพิวเตอร์ ชั้น 5 ตึกไอที โทร. 073-299699

คลิกที่หน้าแรกของเว็บไซต์

http://etraining.yru.ac.th คลิกที่ปุ่ม for student

เลือก รายวิชา/หลักสูตร

การเข้าทำ Placement Test เลือก รายวิชา/หลักสูตร

ระบุ Enrolment ket คลิก Enrol me

คลิกหลักสูตร

คลิก Enter

คลิกที่ กรุณาคลิกที่นี่เพื่อเริ่มหลักสูตรของคุณ

กรอก รหัสนักศึกษาเท่านั้น หน้าต่างสำหรับกรอกข้อมูล กรอก รหัสนักศึกษาเท่านั้น เลือกแค่ Time zone, sex, and email * (สำคัญมาก เป็นช่องทางช่วยเหลือเวลาผู้เรียนลิมรหัสผ่าน)

อ่านเงื่อนไขการทำแบบทดสอบวัดระดับก่อน คำแนะนำ 1. แบบทดสอบสามารถทำได้ครั้งเดียวเท่านั้น 2. มีการจับเวลาในการทำแต่ละข้อไม่เท่ากัน 3. ไม่สามารถย้อนกลับไปแก้ไขข้อที่ทำไปแล้ว 4. ผู้ทดสอบแต่ละท่านจะใช้เวลาในการทำแบบทดสอบไม่เท่ากัน แบบทดสอบจะสิ้นสุดลงทันที เมื่อทักษะทางภาษาอังกฤษ ของผู้เรียนถูกประเมินเรียบร้อยแล้ว

ขั้นตอนการทำแบบทดสอบวัดระดับ (Placement Test) คลิกที่สัญลักษณ์ ลูกศร หน้าประโยค เพื่อดูคำแปล กด Help เพื่อดูคำอธิบายการใช้งาน สังเกตุที่สัญลักษณ์รูปลำโพง คลิกเพื่อฟังเสียงก่อนเริ่มทดแบบทดสอบ เลือกแค่ Time zone, sex, and email * (สำคัญมาก เป็นช่องทางช่วยเหลือเวลาผู้เรียนลิมรหัสผ่าน)

การเข้าทำแบบฝึกหัด หลักสูตร A1 เลือก รายวิชา/หลักสูตร

คลิกที่ หลักสูตร

คลิกที่ Enter

คลิกที่ กรุณาคลิกที่นี่เพื่อเริ่มหลักสูตรของคุณ

ตัวอย่างเนื้อหาโปรแกรม

แบบฝึกหัดของฉัน (My Exercises) จำนวนข้อของแบบฝึกหัดในแต่ละบท ในแต่ละหลักสูตรมีบทเรียนทั้งหมด 24 บท

ศูนย์ธุรกิจ (Business) เพื่อฝึกฝนทักษะด้านภาษาอังกฤษเฉพาะด้านเพื่อใช้ในการทำงาน ตั้งแต่ระดับพื้นฐาน เช่น การรับโทรศัพท์ การประสานงาน การประชุม การนำเสนองาน งานด้านบุคคล ไปจนถึง สถานะการณ์ เหตุการณ์ต่างๆ

ศูนย์ไวยากรณ์ (Grammar) สำหรับผู้ที่ต้องการฝึกใช้ทักษะด้านไวยากรณ์ให้ถูกต้อง

ศูนย์การออกเสียง (Pronunciation)

ชุมชนแลกเปลี่ยนออนไลน์ (Community) อัพเดททุกๆ 7 วัน

วิดีโอจาก New York Times อัพเดททุกๆ 1 เดือน

ระบบฝึกคำศัพท์บนสมาร์ทโฟน (Mobile Vocabulary)

แนะนำโปรแกรม 10 นาที

5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด 2. คลิกที่ Grammar เพื่ออ่านคำอธิบายไวยากรณ์ อ่านอธิบาย (คลิกที่สัญลักษณ์ ลูกศร หน้าประโยคเพื่อดูคำแปล) 5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด ฟังวีดีโอติวเตอร์ (คลิกที่ติวเตอร์หากต้องการฟังซ้ำ) อ่านคำอธิบาย (กด Alt เพื่อดูคำแปล) ทำแบบฝึกหัด (พร้อมตัวช่วยต่างๆ ) Grammar ไวยกรณ์ที่สอดคล้องกับหน้าแบบฝึกหัด ดิกชันนารี่ คุณสามารถคลิกขวาเพื่อดูความหมายทุกคำในหน้าแบบฝึกหัด สามารถเลือกฟังได้ทั้งสำเนียง British English และ American English และยังสามารถเลือกได้ทั้งเสียงผู้หญิงและเสียงผู้ชายอีกด้วย กด Correction เพื่อตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด

5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด กด Help เพื่อดูคำอธิบายการใช้งาน 5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด ฟังวีดีโอติวเตอร์ (คลิกที่ติวเตอร์หากต้องการฟังซ้ำ) อ่านคำอธิบาย (กด Alt เพื่อดูคำแปล) ทำแบบฝึกหัด (พร้อมตัวช่วยต่างๆ ) Grammar ไวยกรณ์ที่สอดคล้องกับหน้าแบบฝึกหัด ดิกชันนารี่ คุณสามารถคลิกขวาเพื่อดูความหมายทุกคำในหน้าแบบฝึกหัด สามารถเลือกฟังได้ทั้งสำเนียง British English และ American English และยังสามารถเลือกได้ทั้งเสียงผู้หญิงและเสียงผู้ชายอีกด้วย กด Correction เพื่อตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด

5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด 4. คลิกขวาที่คำศัพท์ เพื่อแปลและฟังเสียงพูด เพิ่มคำศัพท์ ไปยังระบบฝึกคำศัพท์ 3. ทำแบบฝึกหัดด้วยตนเอง 5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด ฟังวีดีโอติวเตอร์ (คลิกที่ติวเตอร์หากต้องการฟังซ้ำ) อ่านคำอธิบาย (กด Alt เพื่อดูคำแปล) ทำแบบฝึกหัด (พร้อมตัวช่วยต่างๆ ) Grammar ไวยกรณ์ที่สอดคล้องกับหน้าแบบฝึกหัด ดิกชันนารี่ คุณสามารถคลิกขวาเพื่อดูความหมายทุกคำในหน้าแบบฝึกหัด สามารถเลือกฟังได้ทั้งสำเนียง British English และ American English และยังสามารถเลือกได้ทั้งเสียงผู้หญิงและเสียงผู้ชายอีกด้วย กด Correction เพื่อตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด

5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด สังเกต คำที่ผิดจะเป็นกรอบสีแดง นำเมาส์ไปคลิกยังช่องที่ผิด เพื่ออ่านคำแนะนำข้อผิดพลาดและแก้ไขข้อผิดพลาด 5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด ฟังวีดีโอติวเตอร์ (คลิกที่ติวเตอร์หากต้องการฟังซ้ำ) อ่านคำอธิบาย (กด ลูกศรซ้าย-ขวา เพื่อดูคำแปล) ทำแบบฝึกหัด (พร้อมตัวช่วยต่างๆ ) Grammar ไวยกรณ์ที่สอดคล้องกับหน้าแบบฝึกหัด ดิกชันนารี่ คุณสามารถคลิกขวาเพื่อดูความหมายทุกคำในหน้าแบบฝึกหัด สามารถเลือกฟังได้ทั้งสำเนียง British English และ American English และยังสามารถเลือกได้ทั้งเสียงผู้หญิงและเสียงผู้ชายอีกด้วย กด Correction เพื่อตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด 5. ตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด

5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด ฟังวีดีโอติวเตอร์ (คลิกที่ติวเตอร์หากต้องการฟังซ้ำ) อ่านคำอธิบาย (กด Alt เพื่อดูคำแปล) ทำแบบฝึกหัด (พร้อมตัวช่วยต่างๆ ) Grammar ไวยกรณ์ที่สอดคล้องกับหน้าแบบฝึกหัด ดิกชันนารี่ คุณสามารถคลิกขวาเพื่อดูความหมายทุกคำในหน้าแบบฝึกหัด สามารถเลือกฟังได้ทั้งสำเนียง British English และ American English และยังสามารถเลือกได้ทั้งเสียงผู้หญิงและเสียงผู้ชายอีกด้วย กด Correction เพื่อตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด คะแนนการทำแบบฝึกหัด คลิก Solution เพื่อดูเฉลย

แบบฝึกหัดที่ต้องฟังเสียงก่อนเริ่มทำ สังเกตที่สัญลักษณ์รูปลำโพง คลิกเพื่อฟังเสียงก่อนเริ่มทำแบบฝึกหัด 5 ขั้นตอนในการทำแบบฝึกหัด ฟังวีดีโอติวเตอร์ (คลิกที่ติวเตอร์หากต้องการฟังซ้ำ) อ่านคำอธิบาย (กด Alt เพื่อดูคำแปล) ทำแบบฝึกหัด (พร้อมตัวช่วยต่างๆ ) Grammar ไวยกรณ์ที่สอดคล้องกับหน้าแบบฝึกหัด ดิกชันนารี่ คุณสามารถคลิกขวาเพื่อดูความหมายทุกคำในหน้าแบบฝึกหัด สามารถเลือกฟังได้ทั้งสำเนียง British English และ American English และยังสามารถเลือกได้ทั้งเสียงผู้หญิงและเสียงผู้ชายอีกด้วย กด Correction เพื่อตรวจคำตอบและแก้ไขข้อผิดพลาด

คลิกที่ เพื่อดูภาพรวมในแต่ละบท วิธีการดูผลคะแนน คลิกที่ เพื่อดูภาพรวมในแต่ละบท ภาพรวมในแต่ละบท แสดงผลคะแนนเฉลี่ย และเวลาสะสม เฉพาะในส่วนของบทเรียนนั้น

คะแนน 0-39% (ควรปรับปรุง) วิธีการดูผลคะแนน คะแนนในส่วนที่เป็นแถบสี คะแนน 60-100% (ดี-ดีมาก) คะแนน 40-59% (ปานกลาง-ดี) คะแนน 0-39% (ควรปรับปรุง) คะแนนการทำแบบฝึกหัด

วิธีการดูผลคะแนน คลิกที่ ? เพื่อดูภาพรวมหลักสูตร ภาพรวมหลักสูตรการเรียนรู้ แสดงผลคะแนนเฉลี่ย และเวลาสะสม ทั้งหลักสูตร เฉพาะในส่วนของแบบฝึกหัดของฉัน

ศูนย์ฝึกการออกเสียง (Pronunciation)

แนะนำการตั้งค่าระบบเสียง ในศูนย์การออกเสียง ปรากฏหน้าต่าง “Adobe Flash Player Setting” ในครั้งแรกที่เข้าใช้งาน เลือก “Allow” และ “Remember” กดปุ่ม เพื่อฟังเสียง ใช้เปรียบเทียบระดับเสียงของอุปกรณ์ของคุณเพื่อตั้งค่าระดับเสียง เมนูบาร์ การปรับเทียบไมโครโฟน 1.คลิกที่เมนู Options ที่เป็นรูปเฟือง 2.คลิกเลือกการปรับเทียบไมโครโฟน 3.พูดใส่ไมโครโฟนแล้วสังเกตที่แถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินให้วิ่งมาอยู่ประมาณครึ่งหนึ่ง ปรับลดระดับไมโครโฟน กรณีแถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินมากหรือน้อยเกินไป 4.คลิกที่ปรับเทียบและพูด ( 1 2 3 4) ใส่ไมโครโฟนจากนั้นเงียบซักครู่ เพื่อให้ระบบวัดระดับเสียงรบกวนรอบข้าง 5.ระดับเสียงรบกวนที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 30-40 เดซิเบล

แนะนำการตั้งค่าระบบเสียง ในศูนย์การออกเสียง จะปรากฏหน้าจอ “Adobe Flash Player Setting” ในส่วนของ Microphone แนะนำให้เลือกเป็น “Default” และ เลือก “Reduce Echo” เพื่อตัดเสียงสะท้อน สามารถปรับระดับเสียงบันทึกได้ที่แถบ Record Volume คลิกที่รูปเฟือง เพื่อตั้งค่าไมโครโฟน และคุณภาพเสียงที่บันทึก เมนูบาร์ การปรับเทียบไมโครโฟน 1.คลิกที่เมนู Options ที่เป็นรูปเฟือง 2.คลิกเลือกการปรับเทียบไมโครโฟน 3.พูดใส่ไมโครโฟนแล้วสังเกตที่แถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินให้วิ่งมาอยู่ประมาณครึ่งหนึ่ง ปรับลดระดับไมโครโฟน กรณีแถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินมากหรือน้อยเกินไป 4.คลิกที่ปรับเทียบและพูด ( 1 2 3 4) ใส่ไมโครโฟนจากนั้นเงียบซักครู่ เพื่อให้ระบบวัดระดับเสียงรบกวนรอบข้าง 5.ระดับเสียงรบกวนที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 30-40 เดซิเบล

แนะนำการตั้งค่าระบบเสียง ในศูนย์การออกเสียง คลิกที่ และพูดใส่ไมโครโฟนประมาณ 2-3 วินาที จากนั้นให้ผู้เรียนเงียบ รอจนกระทั่งโปรแกรมแสดงผล การปรับเทียบ ปรับความไวของไมโครโฟน โดยสามารถเลื่อนระดับ สูง – ต่ำได้ เมนูบาร์ การปรับเทียบไมโครโฟน 1.คลิกที่เมนู Options ที่เป็นรูปเฟือง 2.คลิกเลือกการปรับเทียบไมโครโฟน 3.พูดใส่ไมโครโฟนแล้วสังเกตที่แถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินให้วิ่งมาอยู่ประมาณครึ่งหนึ่ง ปรับลดระดับไมโครโฟน กรณีแถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินมากหรือน้อยเกินไป 4.คลิกที่ปรับเทียบและพูด ( 1 2 3 4) ใส่ไมโครโฟนจากนั้นเงียบซักครู่ เพื่อให้ระบบวัดระดับเสียงรบกวนรอบข้าง 5.ระดับเสียงรบกวนที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 30-40 เดซิเบล

แนะนำการตั้งค่าระบบเสียง ในศูนย์การออกเสียง เมนูบาร์ การปรับเทียบไมโครโฟน 1.คลิกที่เมนู Options ที่เป็นรูปเฟือง 2.คลิกเลือกการปรับเทียบไมโครโฟน 3.พูดใส่ไมโครโฟนแล้วสังเกตที่แถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินให้วิ่งมาอยู่ประมาณครึ่งหนึ่ง ปรับลดระดับไมโครโฟน กรณีแถบวัดระดับเสียงสีน้ำเงินมากหรือน้อยเกินไป 4.คลิกที่ปรับเทียบและพูด ( 1 2 3 4) ใส่ไมโครโฟนจากนั้นเงียบซักครู่ เพื่อให้ระบบวัดระดับเสียงรบกวนรอบข้าง 5.ระดับเสียงรบกวนที่เหมาะสมควรอยู่ระหว่าง 30-40 เดซิเบล คลิกที่รูป เพื่อตรวจสอบคุณภาพเสียงที่บันทึก

แนะนำศูนย์การออกเสียง คลิกที่รูป และออกเสียงใส่ไมโครโฟน จากนั้นให้ผู้เรียนเงียบ รอจนกระทั่งโปรแกรมแสดงผลคะแนน คลิกที่รูป เพื่อฟังเสียงจากเจ้าของภาษา โปรแกรมจะแสดงผลคะแนนออกมาเป็นแถบสี คะแนน 60-100% (ดี-ดีมาก) คะแนน 40-59% (ปานกลาง-ดี) คะแนน 0-39% (ควรปรับปรุง)

แนะนำศูนย์การออกเสียง คลิกที่รูป เพื่อฟังเสียงที่บันทึก

เปิดเบราเซอร์เพื่อเข้าใช้งาน Speexx เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone http://etraining.yru.ac.th ระบุ ชื่อบัญชีผู้ใช้ และ รหัสผ่าน จากนั้นกดปุ่ม “เข้าสู่ระบบ” เปิดเบราเซอร์เพื่อเข้าใช้งาน Speexx

เลือก รายวิชา/หลักสูตร เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone เลือก รายวิชา/หลักสูตร

เลือก รายวิชา/หลักสูตร เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone เลือก รายวิชา/หลักสูตร

เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone คลิกที่ Enter

คลิกที่ กรุณาคลิกที่นี่เพื่อเริ่มหลักสูตรของคุณ เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone คลิกที่ กรุณาคลิกที่นี่เพื่อเริ่มหลักสูตรของคุณ

เข้าไปที่ แบบฝึกหัดของฉัน เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone เข้าไปที่ แบบฝึกหัดของฉัน ( My Exercises)

เข้าใช้งานผ่าน Smart Phone ทุกคำในแบบฝึกหัดสามารถแปลภาษาไทยได้ เพียงแค่แตะที่คำศัพท์ค้างไว้

การตั้ง icon Speexx บนมือถือ iOS

กรอก Username & Password การตั้ง icon Speexx บนมือถือ Andriod คลิกที่ More กรอก Username & Password คลิก Add shortcut on Home Screen

การตั้ง icon Speexx บนมือถือ Andriod

สรุปฟังก์ชั่นสำคัญของโปรแกรม - กด เพื่อดูคำแปล อังกฤษ - ไทย คลิกขวาที่คำศัพท์ เพื่อฟังเสียงเจ้าของภาษา (ชาย/หญิง, อเมริกัน/บริติช) และดูความหมายภาษาไทย กด Help เพื่อดูคำอธิบายการใช้งาน - เพื่อดูหลักการใช้ไวยากรณ์ที่สัมพันธ์กับแบบฝึกหัด - เมื่อทำแบบฝึกหัดเสร็จ ให้กดที่ปุ่ม ตรวจคำตอบ เพื่อให้โปรแกรมตรวจคำตอบและบันทึกผลคะแนน - นำเม้าส์ไปวางคำตอบที่มีกรอบสีแดง (คำตอบผิด) เพื่อดูคำอธิบายช่วยเหลือ

แนวทางการเรียน กำหนดการทำแบบฝึกหัด - ทำ Placement test และ A1 (วันนี้ – 16 เม.ย.2560) Enrollment key สำหรับสอบ Placement test - classpeexx กำหนดสอบ วันที่ 17-21 เม.ย.2560 ต้องทำให้ได้ 50 คะแนนขึ้นไป (คะแนนจะไปโชว์ที่ Transcrip) ตารางสอบ และห้องสอบ - กองบริการจะประกาศแจ้งให้ทราบอีกครั้ง

หากพบปัญหาเรื่องการลงชื่อเข้าใช้ระบบ e-Training หน่วยงานรับคำปรึกษา หากพบปัญหาเรื่องการลงชื่อเข้าใช้ระบบ e-Training - ติดต่อศูนย์คอมพิวเตอร์ ชั้น 5 ตึกไอที โทร. 073-299699 หากพบปัญหาด้านโปรแกรมภาษาอังกฤษ Speexx - ติดต่อศูนย์ภาษาและอาเซียนศึกษา ชั้น 7 ตึกไอที โทร. 073-299620 - Facebook Group : Speexx@YRU - Line ID : speexxsupport

Contact Us Send us by mail : support@speexx.co.th Give us a call : 02-5811222-5 | 081 350 8044 Facebook Support : Speexx@YRU Line ID : speexxsupport

empowering communication Enjoy !