บทที่ 7 การคลังสาธารณะ
การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล การคลังสาธารณะ การศึกษาเกี่ยวกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล งบประมาณแผ่นดิน
7.1 งบประมาณแผ่นดิน งบประมาณเกี่ยวกับรายรับ และ รายจ่ายของรัฐบาล ในระยะเวลา 1 ปี
ปีงบประมาณ งบประมาณปี 2558 1 ตุลาคม 2557 ถึง 30 กันยายน 2558
7.2 งบประมาณรายรับ งบประมาณรายรับประกอบด้วย รายได้ เงินกู้ เงินคงคลัง : การประมาณการรายรับของรัฐบาลว่าจะมีจำนวน ทั้งหมดเท่าใดในระยะเวลา 1 ปีงบประมาณ งบประมาณรายรับประกอบด้วย รายได้ เงินกู้ เงินคงคลัง
1) งบประมาณรายได้ รายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสิ่งของและบริการ รายได้จากรัฐพาณิชย์ รายได้อื่นๆ
1.รายได้จากภาษีอากร ภาษี คือ เงินที่ประชาชนถูกบังคับเก็บจากรัฐบาล เพื่อนำไปใช้จ่ายในการดำเนินกิจการของรัฐ
(1) วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร เพื่อหารายได้ เพื่อการควบคุม เพื่อการกระจายรายได้ เพื่อการชำระหนี้ของรัฐ เพื่อเป็นเครื่องมือในนโยบายทางธุรกิจ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
(2) หลักในการจัดเก็บภาษี หลักความเป็นธรรม ( Equity ) หลักความแน่นอน ( Certainty ) หลักความสะดวก ( Convenience ) หลักประหยัด ( Economy )
(3) ประเภทของภาษีอากร 1. ภาษีทางตรง : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายจะต้องรับภาระภาษีไว้เอง โดยจะผลักไปให้ผู้อื่นได้ยาก ตัวอย่างเช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีที่ดิน ภาษีมรดก เป็นต้น
2. ภาษีทางอ้อม เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร เป็นต้น : ภาษีที่ผู้เสียภาษีตามกฎหมายสามารถผลักภาระภาษีให้ผู้อื่นได้ง่าย เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร เป็นต้น
(4) อัตราภาษี อัตราคงที่ ( proportional rate ) อัตราก้าวหน้า ( progressive rate ) อัตราถอยหลัง ( regressive rate )
อัตราภาษีแบบคงที่ ( proportional rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บในอัตราเท่ากันโดยไม่คำนึงถึงขนาดของฐานภาษี เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีเงินได้นิติบุคคล
อัตราภาษีแบบก้าวหน้า ( progressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา แต่อัตราภาษีจะสูงขึ้นเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
อัตราภาษีแบบถอยหลัง ( regressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา แต่อัตราภาษีจะลดลงเมื่อฐานภาษีขยายใหญ่ขึ้น เช่น ภาษีบำรุงท้องที่
อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง รายได้ อัตราภาษี ก. ข. ค. 1,000 5% 2% 15% 2,000 10% 3,000 8% 4,000 อัตราคงที่ อัตราก้าวหน้า อัตราถอยหลัง
ได้รับการยกเว้น เงินได้สุทธิ อัตราภาษี มากกว่า 4,000,000 บาท ไม่เกิน150,000 บาท ได้รับการยกเว้น 150,001- 300000 บาท 5% 300,001 – 500,000 บาท 10% 500,001 – 750,000 บาท 15% 750,001 – 1,000,000 บาท 20% 1,000,001 – 2,000,000 บาท 25% 2,000,001 – 4,000,000 บาท 30% มากกว่า 4,000,000 บาท 35%
ประมาณการรายรับ ประเภทรายรับ ปีงบประมาณ 2555 2556 จำนวน ร้อยละ รายได้ หน่วย : ล้านบาท ประเภทรายรับ ปีงบประมาณ 2555 2556 จำนวน ร้อยละ รายได้ 1. ภาษีอากร 1,815,580 76.3 1,939,475 80.8 2. การขายสิ่งของและบริการ 18,390 0.8 18,467 3. รัฐพาณิชย์ 104,000 4.4 100,000 4.2 4. รายได้อื่น ๆ 42,030 1.7 42,068 1.8 รายได้รวม 1,980,000 83.2 2,100,000 87.8 เงินกู้ 400,000 16.8 300,000 12.4 รวมรายรับ 2,380,000 100 2,400,000
ประมาณการรายรับ ประเภทรายรับ ปีงบประมาณ 2557 2558 1. ภาษีอากร ล้านบาท ร้อยละ 1. ภาษีอากร 2,104,260.4 83.5 2,141,742.4 83.2 2. การขายสิ่งของฯ 23,857.2 0.9 27,720.5 1.1 3. รัฐพาณิชย์ 116,000.0 4.6 120,000.0 4.7 4. รายได้อื่นๆ 30,882.4 1.2 35,537.1 1.4 รายได้รวม 2,275,000.0 90.2 2,325,000 90.4 เงินกู้ 250,000.0 9.8 9.6 รายรับรวม 2,520,000 100.0 2,575,000
2. เงินกู้ เมื่อรัฐมีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย เงินที่รัฐบาลกู้มาใช้จ่ายจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ เรียกว่า หนี้สาธารณะ 1) หนี้สาธารณะตามระยะเวลาการกู้ยืม หนี้ระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว 2) หนี้สาธารณะตามแหล่งที่มาของเงินกู้ หนี้ภายในประเทศ หนี้ภายนอกประเทศ
หนี้สาธารณะของไทย ปีงบประมาณ มูลค่า (พันล้านบาท) ร้อยละของ GDP 2539 685.2 14.9 2544 2,931.7 57.6 2545 2,934.4 55.1 2546 2,918.1 49.7 2547 3,126.5 47.5 2552 4,002.0 44.2 2554 4,448.3 42.3
3. เงินคงคลัง เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อน ๆ ซึ่งรัฐบาล เก็บสะสมไว้และสามารถนำมาใช้ในปีที่รัฐบาลมี รายจ่ายสูงกว่ารายได้
7.3 งบประมาณรายจ่าย
งบประมาณรายจ่าย(ล้านบาท) GDP (ล้านบาท) งบประมาณรายจ่ายต่อ GDP(%) ปีงบประมาณ งบประมาณรายจ่าย(ล้านบาท) GDP (ล้านบาท) งบประมาณรายจ่ายต่อ GDP(%) 2542 825,000 4,637,079 17.8 2543 860,000 4,922,731 17.5 2544 910,000 5,133,502 17.7 2545 1,023,000 5,446,043 18.8 2546 999,900 5,930,362 16.9 2547 1,163,500 6,576,834 2548 1,250,000 7,195,000 17.4 2549 1,360,000 7,878,500 17.3
1) ประเภทของงบประมาณรายจ่าย จำแนกรายจ่ายตามลักษณะเศรษฐกิจ : รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายประจำ และรายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้
รายจ่ายเพื่อการลงทุน รายจ่ายเพื่อสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจ และรายจ่ายเพื่อการได้มาซึ่ง ครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายประจำ รายจ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ เงินรายจ่ายประเภทเงินเดือน ค่าจ้าง และรายจ่ายเพื่อสวัสดิการแก่ข้าราชการ
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ 2555 2556 หน่วย : ล้านบาท ลักษณะเศรษฐกิจ ปีงบประมาณ 2555 2556 จำนวน ร้อยละ รายจ่ายลงทุน 438,555 18.4 448,939 18.7 รายจ่ายประจำ 1,840,673 77.4 1,901,912 79.2 รายจ่ายชำระคืนเงินกู้ 100,772 4.2 49,150 2.1 รวม 2,380,000 100 2,400,000
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ ประเภทรายจ่าย ปีงบประมาณ 2557 2558 ล้านบาท ร้อยละ 1. รายจ่ายประจำ 2,017,626 79.9 2,027,859 78.8 2. รายจ่ายเพื่อการลงทุน 441,129 17.5 449,476 17.4 3. รายจ่ายในการชำระหนี้เงินกู้ 66,245 2.6 97,665 3.8 รายจ่ายรวม 2,525,000 100 2,575,000
เกณฑ์ความยั่งยืนทางการคลัง กำหนดรายจ่ายในการลงทุนของรัฐควรมีประมาณร้อยละ 25 ของงบประมาณรายจ่ายทั้งหมด และหนี้สาธารณะไม่ควรเกินร้อยละ 60 ของGDP
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 หน่วย : ล้านบาท
งบประมาณรายจ่าย จำแนกตามกระทรวง หน่วย : ล้านบาท ที่มา: สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี
งบประมาณรายจ่ายจำแนกตามกระทรวง หน่วย : ล้านบาท ที่มา: 1. สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 2. กรมบัญชีกลาง 3.ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
7.4 ประเภทของงบประมาณ งบประมาณสมดุล (Balance Budget) : งบประมาณที่รายได้ของรัฐรวมกันแล้ว เท่ากับรายจ่ายของรัฐ งบประมาณไม่สมดุล (Unbalance Budget) : งบประมาณที่รายได้ของรัฐรวมกันแล้ว ไม่เท่ากับรายจ่ายของรัฐ
งบประมาณไม่สมดุล (Unbalance Budget) ถ้ารายได้ของรัฐ > รายจ่ายของรัฐ เรียกว่า "งบประมาณเกินดุล" (Surplus Budget) ถ้ารายได้ของรัฐ < รายจ่ายของรัฐ เรียกว่า "งบประมาณขาดดุล" (Deficit Budget)
งบประมาณปี 2554 รัฐมีงบประมาณรายจ่าย 2 งบประมาณปี 2554 รัฐมีงบประมาณรายจ่าย 2.07 ล้านล้านบาท แต่ประมาณการรายได้ มีจำนวน 1.65 ล้านล้านบาท เป็นงบประมาณแบบขาดดุลจำนวน 4.2 แสนล้านบาท รายจ่ายในโครงการประชาวิวัฒน์ เช่น การประกันสังคมแรงงานนอกระบบ การจัดระบบมอเตอร์ไซด์ในกรุงเทพ สินเชื่อผู้ขับรถแท็กซี่ การใช้ไฟฟ้าฟรี งบประมาณ 2,000 ล้านบาท
งบประมาณปี 2558 รายจ่าย 2.575 ล้านล้านบาท ประมาณการรายได้ 2.325 ล้นล้านบาท ขาดดุล 250,000 ล้านบาท ลักษณะงบประมาณรายจ่าย รายจ่ายประจำ 78.7% รายจ่ายเพื่อการลงทุน 17.5% รายจ่ายเพื่อการชำระหนี้ 3.8%
7.5 นโยบายการคลัง นโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการจัดหารายได้ การใช้จ่าย และการบริหารหนี้สาธารณะ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม
นโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) ใช้ในกรณีเศรษฐกิจตกต่ำ เครื่องมือ : รัฐบาลเพิ่มรายจ่าย และ ลดอัตราภาษี งบประมาณรายได้ < งบประมาณรายจ่าย ดำเนินงบประมาณขาดดุล
นโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary fiscal policy) ใช้ในกรณีเศรษฐกิจมีการขยายตัวมากเกินไป เครื่องมือ : รัฐบาลลดรายจ่าย และ เพิ่มอัตราภาษี งบประมาณรายได้ > งบประมาณรายจ่าย ดำเนินงบประมาณเกินดุล
เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกต่ำ นโยบายการคลังแบบหดตัว นโยบายการคลังแบบขยายตัว รัฐบาลลดรายจ่ายลง รัฐบาลเพิ่มการหารายได้ (ภาษี) รัฐบาลเพิ่มรายจ่าย รัฐบาลลดรายได้ (ภาษี) งบประมาณแบบเกินดุล งบประมาณแบบขาดดุล
7.6 การดำเนินนโยบายการคลังของไทย 7.6 การดำเนินนโยบายการคลังของไทย
มาตรการทางภาษี รายรับ รัฐบาล อภิสิทธิ์ รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ยกเว้นภาษีสำหรับผู้ซื้อบ้านใหม่ และโอนกรรมสิทธิ์ภายในปี 2552 ขยายวงเงินได้ขั้นต่ำที่ต้องเสียภาษีสำหรับธุรกิจ SMEs จากเดิม 60,000 บาท เพิ่มเป็น 1 ล้านบาท การเพิ่มวงเงินรายได้ยกเว้นภาษีสำหรับ วิสาหกิจชุมชน จาก 1.2 ล้านบาท เป็น 1.8 ล้านบาท ลดหย่อนภาษีธุรกิจบริการด้านการท่องเที่ยว โครงการรถยนต์คันแรก คืนเงินภาษีสรรพสามิตสำหรับรถยนต์คันแรกเท่ากับภาษีตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกินคันละ 100,000 บาท โครงการบ้านหลังแรก ลดหย่อนภาษี บ้านหลังแรกปีละ 100,000 บาท ในระยะเวลา 5 ปี รวมเป็น 500,000 บาท การลดภาษีเงินได้นิติบุคคลจาก 30% เหลือ 23 % ในปี 2555 และลดเหลือ 20 % ในปี 2556
รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ รัฐบาล อภิสิทธิ์ ยกเว้นภาษีเงินได้แก่ผลประโยชน์ของการโอนหุ้นของ SMEs ยกเว้นภาษีเงินได้แก่ลูกหนี้ที่ได้รับจากการปลดหนี้ของสถาบันการเงินและเจ้าหนี้อื่น การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป์ และค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิ์ และนิติกรรม กรมที่ดินที่เกิดจากการโอนกิจการบางส่วนให้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นบริษัทมหาชนหรือบริษัทจำกัด ลดหย่อนภาษีให้ผู้ลงทุนในกองทุน RMF และLTF ที่ลงทุนไม่น้อยกว่า 5 ปีปฏิทิน สามารถลงทุนได้สูงสุดไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินได้ และไม่เกิน 500,000 บาท ยกเว้นภาษีสำหรับผู้ที่มีรายได้ต่ำกว่า 150,000 บาท ต่อปี ลดภาษีสรรพสามิตน้ำมันดีเซล
รายจ่าย รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ รัฐบาล อภิสิทธิ์ การจ่ายเบี้ยยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุที่มีอายุ 60-69 ปี จะได้รับ 600 บาท อายุ 70-79 ปี ได้รับ 700 บาท อายุ 80 - 89 ได้รับ 800 บาท อายุ 90 ปีขึ้นไป ได้รับ เงินเดือน 1,000 บาท การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ช่วยเหลือเงินยังชีพคนชรา อายุเกิน 60 ปี ที่ไม่อยู่ในระบบสวัสดิการ คนละ 500 บาทต่อเดือน ช่วยเหลือค่าครองชีพอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน คนละ 600 บาทต่อเดือน
การจ่ายเงินเบี้ยผู้สูงอายุรายละ 500 บาท ตั้งแต่ปี 2552 – 2554 ใช้เงินประมาณ 62,000 ล้านบาท - โครงการแท็บเล็ตเพื่อการศึกษา รัฐจัดสรรงบประมาณซื้อแท็บเลตแจกให้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศ
รายจ่าย รัฐบาล อภิสิทธิ์ รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูง และรถไฟรางคู่ มูลค่ากว่า 1 ล้านล้านบาท การสร้างระบบป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพฯและภาคกลาง การช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย กรณีฉุกเฉินครัวเรือนละ 5,000บาท ค่าเสียหายด้านที่พักอาศัย ไม่เกินหลังละ 30,000 บาท ทรัพย์สินที่ประสบอุทกภัย ครัวเรือนละไม่เกิน 10,000 บาท โครงการเช็คช่วยชาติ จ่ายให้ผู้ที่มีรายได้เดือนละไม่เกิน 15,000 บาท โดยจ่ายให้รายละ 2,000 บาท จำนวนเงินทั้งสิ้นประมาณ 20,000 ล้านบาท