งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการธุรกิจขนาดย่อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการธุรกิจขนาดย่อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการธุรกิจขนาดย่อม
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

2 บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจขนาดย่อม
ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

3 ความหมายของธุรกิจขนาดย่อม
วิสาหกิจ หมายถึงสถานประกอบการหรือกลุ่มสถานประกอบการที่ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ธุรกิจหรือวิสาหกิจ หมายถึง กิจการภาคการผลิต (production sector) ภาคธุรกิจการค้า ( trading sector)และภาคธุรกิจบริการ( service sector) ธุรกิจภาคอุตสาหกรรมอย่างเดียว เรียกว่า อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม ถ้ารวมกลุ่มการค้าและการบริการเข้าไปด้วย เรียกว่า ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กิจการภาคการผลิต ครอบคลุมการผลิตภาคอุตสาหกรรม เหมืองแร่ และรวมถึงการผลิตภาคเกษตรกรรม ลักษณะของกิจการการผลิต หมายถึง ธุรกิจที่นำวัตถุดิบมาดัดแปลงเพิ่มเติมหรือแปรรูป ความสำคัญของกิจการภาคการผลิต เป็นที่พึ่งพาของกิจการการผลิต ขนาดใหญ่ ตอบสนองความต้องการของตลาดท้องถิ่น

4 ความหมายของธุรกิจขนาดย่อม
กิจการภาคการค้า ประกอบด้วย การค้าปลีก(retail)และค้าส่ง(wholesale) รวมถึงการนำเข้าและส่งออก ลักษณะของธุรกิจการค้า ความสำคัญของกิจการภาคการค้า บทบาทในด้านทำให้การใช้ผลิตภัณฑ์ในสังคม บทบาทเป็นพ่อค้าคนกลาง กิจการภาคการบริการ เป็นกิจการที่สนับสนุนธุรกรรมการผลิต การค้า และการอำนวยความสะดวกต่อการผลิต การค้า และการบริโภค ลักษณะของกิจการบริการ ความสำคัญของธุรกิจการบริการ

5 เกณฑ์การกำหนดขนาดธุรกิจ
จำนวนการจ้างงาน ผู้ที่ได้รับเงินเดือน ผู้ที่ไม่ได้รับเงินเดือน สินทรัพย์ถาวร ทุนจดทะเบียน เงินลงทุน ยอดขาย

6 การแบ่งขนาดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ประเภทกิจการ วิสาหกิจขนาดย่อม วิสาหกิจขนาดกลาง การจ้างงาน(คน) สินทรัพย์ถาวร(ล้านบาท) การจ้าง งาน(คน) การผลิต การบริการ การค้าส่ง การค้าปลีก ไม่เกิน 50 ไม่เกิน 25 ไม่เกิน 15 ไม่เกิน 30 51-100 51-200 26-50 16-30 เกินกว่า 50แต่ไม่เกิน 200 เกินกว่า 50แต่ไม่เกิน 100 เกินกว่า 30แต่ไม่เกิน 60

7 บทบาทและความสำคัญของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ความสำคัญต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจ บทบาทในการสร้างการจ้างงาน บทบาทในด้านดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ บทบาทในด้านนวัตกรรมใหม่ การสร้างตลาดใหม่ การเจาะเข้าสู่ตลาดเฉพาะ บทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจ

8 ผู้ประกอบการ หมายถึง คน/กลุ่มคน ซึ่งขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ บุคคลผู้สร้างธุรกิจใหม่ โดยเผชิญกับความเสี่ยงและความไม่แน่นอนมีวัตถุประสงค์ที่จะได้รับผลตอบแทนเป็นกำไรและความเจริญเติบโตของธุรกิจที่ลงทุน สรุป ผู้ประกอบการ หมายถึง ผู้ประกอบการโดยเผชิญกับความเสี่ยงและความไม่แน่นอนในกำไรที่จะได้รับและความสำเร็จในการลงทุน ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมที่คนหรือกลุ่มคนทำเป็นประจำเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนสิ่งของจำเป็นหรือของมีค่ากับค่าตอบแทนที่เป็นผลกำไร โดยสิ่งของจำเป็น/ของมีค่า อาจเป็นสินค้าหรือบริการ กิจกรรมประจำ คือ การประกอบธุรกิจหรือเรียกว่า “การทำธุรกิจ” คน/กลุ่มคน ที่ทำธุรกิจเรียกว่า “ผู้ประกอบธุรกิจ”

9 คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ
มีความรับผิดชอบ ความกล้าเสี่ยง ความเชื่อมั่นในตนเอง ต้องการมุ่งความสำเร็จ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความกระตือรือร้น มองหาโอกาส ทักษะในการจัดการ ความสามารถในการบริหารงานและเป็นผู้นำที่ดี ความอดทนต่อความไม่แน่นอน ไวต่อการปรับตัว ใฝ่หาความรู้เพิ่มเติม กล้าตัดสินใจและมีความมุมานะพยายาม มีความซื่อสัตย์

10 ผลประโยชน์ของผู้ประกอบการ
โอกาสในการสร้างกิจการของตนเอง มีโอกาสในมุมมองที่แตกต่างกัน โอกาสที่จะทำงานเต็มความสามารถ ผลตอบแทนที่ไม่มีที่สิ้นสุด มีชื่อเสียงในสังคม

11 อุปสรรคของการประกอบการธุรกิจ
รายได้ไม่แน่นอน เสี่ยงต่อการสูญเสียเงินลงทุน ทำงานหนัก ความท้อแท้และหมดกำลังใจ ขาดชีวิตที่อิสระ

12 สาเหตุการล้มเหลวของการประกอบการธุรกิจ
ขาดการบริหารที่ดี ขาดประสบการณ์ การควบคุมการเงินไม่เพียงพอ ขาดการวางแผนเชิงกลยุทธ์ ขาดการควบคุมความเจริญเติบโต ทำเลที่ตั้งไม่เหมาะสม การควบคุมสินค้าคงคลังไม่ดีพอ การตั้งราคาไม่เหมาะสม ไม่มีสามารถปรับตัว ความล้มเหลวเป็นบทเรียนสู่ความสำเร็จ

13 แนวทางสู่ความสำเร็จในการประกอบธุรกิจ
รู้ซึ้งถึงธุรกิจที่ทำ พัฒนาแผนธุรกิจ การจัดการทางการเงิน ศึกษางบการเงิน การจัดการบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ

14 อาชีพลูกจ้าง กับการเป็นผู้ประการ
ข้อดีของการเป็นลูกจ้าง อาชีพรับจ้าง เป็นอาชีพที่ปลอดภัยมั่นคงเป็นงานประจำ ข้อเสียของการเป็นลูกจ้าง รายได้ไม่มากเท่ากับการมีธุรกิจส่วนตัว

15 ขั้นตอนในการเตรียมประกอบการธุรกิจขนาดย่อม
ผลตอบแทนที่คิดว่าจะได้รับจากกิจการและงบกำไรขาดทุนล่วงหน้า สำรวจตลาดที่จะไปลงทุน ทำงบแสดงยอดสินทรัพย์ที่จะไปใช้ในกิจการ การเตรียมงบดุลล่วงหน้าศึกษาทำเลที่ตั้งของกิจการ การวางผังร้านค้า เลือกรูปแบบกิจการตามกฎหมาย การวางแผนเกี่ยวกับสินค้า วิเคราะห์รายจ่ายที่ประมาณการไว้ล่วงหน้า หาจุดคุ้มทุน นโยบายขายเชื่อ การตั้งสำรองหนี้สูญ กำหนดนโยบายการบริหารงานบุคคล วางระบบบัญชี

16 ธุรกิจกับการวางแผนภาษีอากร
ความหมาย คือการตัดสินใจเกี่ยวกับเป้าหมายภาษีอากรทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเป็นไปอย่างประหยัดที่สุดและเสียภาษีจำนวนน้อยที่สุด วัตถุประสงค์การวางแผนภาษีอากร เพื่อให้การเสียภาษีเป็นไปอย่างถูกต้องครบถ้วน เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภาษีที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการเสียภาษีไม่ถูกต้อง เพื่อใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร ขอยกเงินภาษีเงินได้นิติบุคคล3-8 ปี ขอยกเว้นอากรขาเข้าสำหรับเครื่องจักรหรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต การใช้สิทธิประกอบกิจการผลิตสินค้าในเขตคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร

17 กระบวนการวางแผนภาษีอากร
การกำหนดนโยบายการวางแผนภาษี การกำหนดบุคลากรที่เกี่ยวข้องกิจการการวางแผนภาษี จัดการการวางแผนภาษี ติดตามผลปฏิบัติการวางแผนภาษี

18 ประเภทของภาษีที่จัดเก็บ
ภาษีสรรพากร ภาษีศุลกากร ภาษีสรรสามิต ภาษีส่วนท้องถิ่น ภาษีรถยนต์ ภาษีหรือค่าธรรมเนียมอื่นๆ

19 - A customer design and chooses his/her own materials
1919


ดาวน์โหลด ppt การจัดการธุรกิจขนาดย่อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google