เงินเฟ้อ Inflation.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
หอมแดง.
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
GDP GNP PPP.
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทอ่อน
สาเหตุ ค่าเงินบาทแข็ง-อ่อน
ทัศนะเกี่ยวกับการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ประจำปี 2559
1.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
การค้าระหว่างประเทศ International Trade
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
บทที่ 4 การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
รายงาน การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
รายงานผลการดำเนินงาน ตามแผน Planfin
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
MK201 Principles of Marketing
วิกฤตเศรษฐกิจของประเทศไทย ปี 2540
5.2 การผันผวนทางเศรษฐกิจ การว่างงาน และภาวะเงินเฟ้อ
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
สถานการณ์โลก การผลิต - พื้นที่ปลูก - ปริมาณผลผลิต - ชนิดพันธุ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
มูลค่าพลังงาน.
ดัชนีชี้วัดพลังงาน.
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สถานการณ์พลังงานปี 2560 และแนวโน้มปี 2561
บทที่ 9 งบประมาณการลงทุน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด – ณ สิ้นเดือนกันยายน 2554
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทแข็ง
ส่งสัญญาณเตือนระยะต้น
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
เศษส่วนและทศนิยม.
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
บทที่ 2 ความสำคัญและการคำนวณรายได้ประชาชาติ.
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เงินเฟ้อ Inflation

เงินเฟ้อ Inflation ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้า โดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น

ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น (รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่) รายได้ที่แท้จริงลดลง อำนาจซื้อลดลง

ภาวะเงินเฟ้อ อำนาจซื้อลดลง

ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI การวัดอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI

ปี 2556 มี CPI เท่ากับ 120 ปี 2557 มี CPI เท่ากับ 130 อัตราการเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาผู้บริโภค ปี 2557 เท่ากับเท่าใด เมื่อเทียบกับปี 2554 CPI ปี 2556 = 120 CPI ปี 2557 เพิ่มขึ้น = 130 - 120 130 - 120 x 100 = 120 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2557 = 8.33

ดัชนีราคาผู้บริโภค CPI *** 132.3 2544 130.2 2543 128.2 2542 127.8 2541 118.2 2540 112.0 2539 105.8 2538 100 2537 อัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค CPI ปี 1.61 1.56 0.31 8.12 5.53 5.86 5.8

ระดับอัตราเงินเฟ้อ 0.1 - 5 เงินเฟ้ออย่างอ่อน 6 - 20 เงินเฟ้อปานกลาง 20 ขึ้นไป เงินเฟ้อรุนแรง

อัตราเงินเฟ้อ ระดับอัตราเงินเฟ้อ 200 2555 180 2554 140 2553 120 2552 110 2551 105 2550 102 2549 100 2548 อัตราเงินเฟ้อ CPI ปี ระดับอัตราเงินเฟ้อ *** *** เงินเฟ้ออย่างอ่อน 2 เงินเฟ้ออย่างอ่อน 2.94 เงินเฟ้ออย่างอ่อน 4.76 เงินเฟ้อปานกลาง 9.09 เงินเฟ้อปานกลาง 16.67 เงินเฟ้อรุนแรง 28.57 เงินเฟ้อปานกลาง 11.11

อัตราเงินเฟ้อ ปี 2557 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n 128.2 - 127.8 = 127.8 x 100 128.2 - 127.8 = 127.8 x 100 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2557 CPI57 - CPI56 = CPI56 x 100 อัตราเงินเฟ้อปีที่ n CPIn - CPIn - 1 = CPIn - 1 x 100

สาเหตุของภาวะเงินเฟ้อ เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ (Demand - Pull Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน (Cost - Push Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม (Mixed Inflation) กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ

Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) GDP = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M)

เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านอุปสงค์ ( Demand - Pull Inflation ) เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศเพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่อุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้ อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand) เพิ่มขึ้น

สาเหตุที่อุปสงค์รวมเพิ่มสูงขึ้น 1. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน 2. การเพิ่มขึ้นของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมของประเทศ

1. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ

2. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์ Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ

เงินเฟ้อที่เกิดจากด้านต้นทุน(Cost - Push Inflation) 1. เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม 2. อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลด

สาเหตุที่ทำให้ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น 1. การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า 2. การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต 3. การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และ วัตถุดิบต่างๆ

กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน 1. การเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานในการผลิตสินค้า (Wage - Push Inflation) แรงงาน สินค้าชนิดหนึ่ง กำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทาน ระดับราคา (ค่าจ้าง) ที่ดุลยภาพ

อุปสงค์ต่อแรงงานคงเดิม แต่ปรับราคาเพิ่มขึ้น ถ้ามีการปรับค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประสิทธิภาพของแรงงานคงเดิม อุปสงค์ต่อแรงงานคงเดิม ต้นทุนเพิ่มขึ้น ลดปริมาณการผลิต ลดการจ้างงาน ไม่ลดการจ้างงาน แต่ปรับราคาเพิ่มขึ้น P เพิ่มขึ้น

2. การเพิ่มขึ้นของอัตรากำไรของผู้ผลิต (Profit - Push Inflation) ผู้ผลิตต้องการกำไรสูงกว่าเดิม ตั้งราคาสินค้าให้สูงขึ้น เงินเฟ้อ

3. การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันเชื้อเพลิง และวัตถุดิบต่างๆ ราคาน้ำมันหรือราคาวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น Supply ลด ราคาเพิ่มขึ้น

เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์มวลรวมและอุปทานมวลรวม ( Mixed demand cost Inflation) เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานมวลรวมในขณะเดียวกัน

P  OPEC ลดการผลิตน้ำมัน มีการลงทุนเพิ่มขึ้น (I ) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน Aggregate Demand Aggregate Supply มีการลงทุนเพิ่มขึ้น (I ) รัฐลงทุนขั้นพื้นฐาน มากขึ้น (G ) AD เพิ่ม OPEC ลดการผลิตน้ำมัน ราคาน้ำมันสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น AS ลด เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น P 

กรณีมีการค้ากับต่างประเทศ มีเงินเฟ้อในต่างประเทศ เกิดเงินเฟ้อภายในประเทศ

ประเทศไทยมีสินค้าออกที่สำคัญคือ ข้าว ราคาข้าวในตลาดโลกสูงขึ้น ผู้ค้าข้าวได้รายได้เพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (สินค้าทั่วไป) AD เพิ่ม ราคาสินค้าโดยทั่วไปในประเทศสูงขึ้น C 

ประเทศ ก. ซื้อสินค้าจากประเทศ ข. ถ้าประเทศ ข. เกิดเงินเฟ้อ ราคาสินค้าส่งออกสูงขึ้น ประเทศ ก. : ราคาสินค้านำเข้า จาก ข. สูงขึ้น ค่าครองชีพสูงขึ้น เรียกร้องค่าจ้างเพิ่มขึ้น ต้นทุนเพิ่มขึ้น ราคาสินค้าใน ก. เพิ่มขึ้น ภาวะเงินเฟ้อ

กรณีต้องนำเข้าสินค้าทุนจากต่างประเทศ ถ้าราคาสินค้าทุนสูงขึ้น ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น AS ลด