งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน

2 8.1 ความหมายของเงินเฟ้อ เงินเฟ้อ (Inflation)
8.1 ความหมายของเงินเฟ้อ เงินเฟ้อ (Inflation) ภาวะที่ระดับราคาโดยทั่วไปของสินค้าและบริการเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ราคาสินค้า ก. ลดลง ระดับราคาสินค้า โดยเฉลี่ยมีค่าเพิ่มขึ้น ราคาสินค้า ข. คงที่ ราคาสินค้า ค. เพิ่มขึ้น

3 ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น (รายได้ที่เป็นตัวเงินคงที่)
รายได้ที่แท้จริงลดลง อำนาจซื้อลดลง ภาวะเงินเฟ้อ อำนาจซื้อลดลง

4 ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI)
การวัดอัตราเงินเฟ้อ ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) อัตราการเปลี่ยนแปลงของ CPI

5 ดัชนีราคาผู้บริโภคและอัตราเงินเฟ้อของไทยปี 2550 -2555
(%) 2550 100.0 - 2551 105.4 5.4 2552 104.5 -0.9 2553 108.0 3.3 2554 112.1 3.8 2555 115.5 3.0 5

6 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2552 = 105.4 x 100 = %

7 อัตราเงินเฟ้อ ปี 2553 = 104.5 x 100 = %

8 8.2 สาเหตุของการเกิดเงินเฟ้อ
8.2.1 เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์ (Demand - Pull Inflation) 8.2.2 เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านต้นทุนการผลิต (Cost - Push Inflation)

9 8.2.1 เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านอุปสงค์ (Demand - Pull Inflation)
เงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์มวลรวมของประเทศ (Aggregate Demand) เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่อุปทานมวลรวมของสินค้าและบริการไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้

10 Supply ต่อสินค้า ก. P Q S

11 AS AD5 E3 E2 AD4 E1 AD3 AD2 AD1 Qf AS = Aggregate Supply
AD = Aggregate Demand P Q AD5 AS P5 AD4 P4 AD3 E3 AD2 P3 E2 AD1 P2 Qf P1 E1

12 สาเหตุที่อุปสงค์มวลรวมเพิ่มสูงขึ้น
1. การเพิ่มขึ้นของส่วนประกอบของอุปสงค์มวลรวมของประเทศ 2. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน

13 1. การเพิ่มขึ้นของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินเฟ้อ

14 Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)
GDP = C + I + G + (X – M) Aggregate Expenditure = C + I + G + (X – M) Aggregate Demand = C + I + G + (X – M)

15 2. การเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน
ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น Aggregate Demand เพิ่มขึ้น เกิดภาวะเงินเฟ้อ

16 8.2.2 เงินเฟ้อที่เกิดทางด้านต้นทุน (Cost - Push Inflation)
เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นในขณะที่อุปสงค์มวลรวมของประเทศยังคงเดิม ต้นทุนการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้นจะทำให้อุปทานมวลรวม (Aggregate Supply) ลดลง

17 เงินเฟ้อที่เกิดจากต้นทุนการผลิตสินค้า เช่น
- การปรับค่าจ้างขั้นต่ำของแรงงาน (Wage Push Inflation) - ผู้ผลิตต้องการกำไรเพิ่มขึ้น (Profit Push Inflation) - การปรับราคาน้ำมันเชื้อเพลิง - การเกิดภาวะน้ำท่วม ฝนแล้ง หรือภัยธรรมชาติ

18 P Q AS AS1 AS2 AS3 E3 AD P3 E2 P2 P1 E1

19 8.3 ผลกระทบของเงินเฟ้อ 1. ผลต่อการกระจายรายได้
กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ

20 กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินเฟ้อ
กลุ่มที่มีรายได้เพิ่มขึ้นมากกว่าอัตราเงินเฟ้อที่ เพิ่มขึ้น ลูกหนี้ ผู้ที่ทำสัญญาจ่ายเงินไว้แล้วเป็นระยะเวลานาน ผู้ที่ถือทรัพย์สินที่ราคาของทรัพย์สินนั้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามภาวะเงินเฟ้อ

21 กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินเฟ้อ
ผู้ที่มีรายได้ประจำ เจ้าหนี้ที่ไม่สามารถปรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ให้สูงขึ้นได้ ผู้ให้เช่าที่สัญญาเช่าระยะยาว และไม่สามารถปรับค่าเช่าได้ ผู้ถือทรัพย์สินในรูปของเงินฝากธนาคาร ผู้ถือพันธบัตรรัฐบาล

22 ถ้าอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
2. ผลต่อการออมและการลงทุนของประเทศ ถ้าอัตราเงินเฟ้อสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก ถือสินทรัพย์อื่นแทนการฝากเงิน ประเทศขาดแคลนเงินออมเพื่อการลงทุนระยะยาว การลงทุนของประเทศลดลง

23 3. ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล
รายได้ รายได้ที่เป็นตัวเงิน ของประชาชนสูงขึ้น ภาษีอัตราก้าวหน้า เก็บภาษีได้ เพิ่มขึ้น มีการซื้อ - ขายสินค้าเพิ่มขึ้น ภาษีทางอ้อม

24 ได้รับประโยชน์จากรายจ่ายคงที่
3. ผลที่มีต่อการคลังของรัฐบาล (ต่อ) รายจ่าย ได้รับประโยชน์จากรายจ่ายคงที่ กรณีกู้เงิน จากการขายพันธบัตร จ้างงานเพิ่มขึ้น รัฐจ่ายเงินประกันลดลง เงินที่รัฐจ่ายคืน มีอำนาจซื้อลดลง + รายได้รัฐเพิ่มขึ้น รายจ่ายลดลง ชำระดอกเบี้ยได้ไม่ยาก

25 4. ผลกระทบต่อการค้าต่างประเทศ
ราคาสินค้า ในประเทศสูงขึ้น ราคาสินค้าจาก ต่างประเทศถูกกว่า สินค้าส่งออก มีราคาสูงขึ้น สินค้านำเข้า มีราคาถูก สินค้าส่งออกลดลง ซื้อสินค้านำเข้าเพิ่มขึ้น ดุลการค้าขาดดุล

26 ผลกระทบของเงินเฟ้อ (ต่อ)
5. ผลต่อการเมืองของประเทศ ประชาชนยิ่งเดือดร้อน เพราะรายได้แท้จริงลดลง การกระจายรายได้ มีความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เงินเฟ้อ ประชาชนเดือดร้อน (ค่าครองชีพสูงขึ้น) พยายามเรียกร้อง เพื่อให้ได้รายได้เพิ่มขึ้น รัฐบาลแก้ไขไม่ได้ เกิดความไม่พอใจ เงินเฟ้อยิ่งเพิ่มขึ้น เปลี่ยนแปลงรัฐบาล

27 8.4 การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ : ใช้นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง
1. ลดอุปสงค์มวลรวมหรือลดการใช้จ่ายรวมของประเทศ : ใช้นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบบเข้มงวด นโยบายการคลัง นโยบายการคลังแบบหดตัว

28 การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ (ต่อ)
2. เพิ่มอุปทานมวลรวม มาตรการในระยะยาว ปรับปรุงประสิทธิภาพในการผลิต เพื่อเพิ่ม อุปทานมวลรวมให้ทันกับการเพิ่มขึ้นของ อุปสงค์มวลรวม คิดค้นวิทยาการใหม่ ฝึกอบรมเพิ่มทักษะแก่แรงงาน

29 การแก้ปัญหาเงินเฟ้อ (ต่อ)
3. มาตรการอื่นๆ ควบคุมราคาสินค้า โดยกำหนดราคาขายในท้องตลาดของสินค้าที่สำคัญบางชนิดที่จำเป็นต่อการครองชีพ มีการลงโทษผู้กักตุนสินค้า ควบคุมสหภาพแรงงานไม่ให้เรียกร้องค่าแรงสูงกว่าผลิตภาพของแรงงาน ฯลฯ

30 8.5 เงินเฟ้อของไทยและการแก้ปัญหาเงินเฟ้อ

31 ธนาคารแห่งประเทศไทยเคยใช้อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation)เป็นเป้าหมายในการดำเนินนโยบายการเงินตั้งแต่ปี ซึ่งอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานคำนวณได้จากการนำเอาราคาสินค้าหมวดอาหารสดและพลังงานหักออกจากอัตราเงินทั่วไป (Headline Inflation) เนื่องจากราคาอาหารสด มีความผันผวนระยะสั้นสูง เพราะราคาอาหารสดขึ้นอยู่กับสภาพดินฟ้าอากาศ ส่วนราคาพลังงานนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยภายนอกที่ควบคุมไม่ได้

32 ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานต่อปีไว้ที่ร้อยละ 0
ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานต่อปีไว้ที่ร้อยละ 0.5 – 3 แต่ในปี 2558 ธนาคารแห่งประเทศไทยยกเลิกอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation)เป็นเป้าหมายในการดำเนินนโยบายการเงิน แล้วกลับมาใช้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปโดยกำหนดไว้ที่ร้อยละ 1 – 4 ต่อปี

33 ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดอัตรา สำหรับอัตราดอกเบี้ยเชิงนโยบายในการควบคุมเงินเฟ้อนั้นใช้อัตราดอกเบี้ยในตลาดซื้อคืนพันธบัตร 1 วัน ซึ่งปัจจุบันอยู่ที่ร้อยละ 1.5 ต่อปี

34 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
การดำเนินนโยบายการเงินในกรอบ Inflation Targeting ของไทย ปี อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation) อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) 2543 1.6 0.7 2544 1.3 2545 0.4 2546 1.8 0.2 2547 2.7 2548 4.5 2549 4.7 2.3 34

35 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน
การดำเนินนโยบายการเงินในกรอบ Inflation Targeting ของไทย ปี อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (Headline Inflation) อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core Inflation) 2550 2.3 1.1 2551 5.5 2.4 2552 -0.9 0.3 2553 3.3 1.0 2554 3.8 2555 3.02 2.09 2556 2.2 35

36 8.6 เงินฝืด (Deflation) ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการทั่วไป ลดต่ำลงเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง อุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่าปริมาณสินค้าที่นำออกขาย อำนาจซื้อเพิ่มขึ้น การแก้ปัญหา

37 อุปสงค์มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีน้อยกว่า ปริมาณสินค้าที่นำออกขาย
ผู้ผลิตต้องลดราคาลงเรื่อยๆ ลดปริมาณการผลิตและการจ้างงาน เกิดการว่างงาน

38 การลดลงของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์
Aggregate Demand = C + I + G + (X – M) เกิดภาวะเงินฝืด

39 AS E1 E2 E3 AD1 AD2 AD3 Qf AS = Aggregate Supply AD = Aggregate Demand
AS AD1 AD2 E1 P1 AD3 P2 Qf E2 P3 E3

40 ผลกระทบของเงินฝืด กลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากเงินฝืด
กลุ่มที่เสียประโยชน์จากเงินฝืด

41 การแก้ปัญหาเงินฝืด 1) ทางด้านนโยบายการเงิน
1) ทางด้านนโยบายการเงิน ธนาคารกลางควรใช้มาตรการต่าง ๆ ทางการเงินเพื่อเพิ่มปริมาณเงินหมุนเวียนในประเทศซึ่งจะมีผลทำให้อัตราดอกเบี้ยในตลาดลดลง และจะการใช้จ่ายรวมและการลงทุนของประเทศเพิ่มขึ้น 2) ทางด้านนโยบายการคลัง รัฐบาลเพิ่มอุปสงค์รวมของประเทศได้โดยการเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลให้มากขึ้น มีการลงทุนสร้างสิ่งสาธารณูปโภคต่าง ๆ

42 8.7 การว่างงาน (Unemployment)

43 การว่างงาน (Unemployment)
ภาวะการณ์ที่ผู้ที่อยู่ในวัยทำงาน(อายุ 15 ปีขึ้นไป) ซึ่งมีความสมัครใจและมีความสามารถที่จะทำงาน ณ ระดับค่าแรงที่ปรากฏ แต่ไม่สามารถหางานทำได้ การว่างงานมี 2 ลักษณะ คือ การว่างงานโดยไม่สมัครใจ และ การว่างงานโดยสมัครใจ

44 ว่างงานโดยไม่สมัครใจ
ประเทศ A ประเทศ B ประชากร 10 คน 9 คน มีงานทำ นาย ก. ไม่มีงานทำ นาย ข.ไม่มีงานทำ นาย ก. หางานทำไม่ได้ นาย ข.ไม่ต้องการทำงาน ว่างงานโดยไม่สมัครใจ ว่างงานโดยสมัครใจ มีการว่างงาน ไม่มีการว่างงาน

45 ปี 2556 อัตราการว่างงานของประเทศไทยร้อยละ 0.7

46 การแก้ปัญหาการว่างงาน
นโยบายการเงินหรือนโยบายการคลัง  เพิ่มอุปสงค์รวมหรือการใช้จ่ายมวลรวม นโยบายการเงิน นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย นโยบายการคลัง นโยบายการคลังแบบขยายตัว นโยบายประชากร  ควบคุมอัตราการเพิ่มของประชากร


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google