งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
ระบบการจัดแผนการจ่ายเงินจูงใจ เพื่อเร่งเร้าให้คนงานมีกำลังใจในการทำงานและการมีส่วนร่วมในโครงการปรับปรุงในการทำงาน Rujipas Potongsangarun

3 การบริหารแผนการจ่ายเงินจูงใจ
เวลามาตรฐาน เกณฑ์ในการกำหนดเงินจูงใจ หรือ ประสิทธิภาพของเครื่องจักร %ของเสียที่ลดลง % ผลผลิตที่จะสูงขึ้นได้จากการใช้วัสดุอย่างมีประสิทธิผล ยอดเงินค่าใช้จ่ายวัสดุที่ลดได้ ต้นทุนค่าใช้จ่ายที่ลดได้จากการประหยัดพลังงาน %ของเสียที่ลดลง Rujipas Potongsangarun

4 เกณฑ์ แผนการจ่ายจูงใจ เหมาะสม เวลา ความพยายาม ความคิดสร้างสรรค์
สำหรับ เกณฑ์ แผนการจ่ายจูงใจ ต้องการจากคนงาน เวลา ความพยายาม ความคิดสร้างสรรค์ เหมาะสม ทำให้เกิดผลผลิตสูงสุด การใช้เวลาทำงานอย่างมีประสิทธิภาพสัมพันธ์อย่างเหมาะสมกับความชำนาญงาน ความรับผิดชอบ ความสม่ำเสมอในคุณภาพของงาน การพัฒนาวิธีการทำงาน Rujipas Potongsangarun

5 ลักษณะที่ดีและข้อควรระวังของการใช้แผนการจ่ายเงินจูงใจ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าจ้าง ต้นทุน และอัตราผลิตภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษาการทำงานกับแผนการจ่ายเงินจูงใจ เกี่ยวพันกับ การศึกษาการทำงาน ส่วนของแรงงาน 1.เป็นการช่วยให้คนงานมีวิธีการทำงานที่ดีขึ้น 2.เป็นการกำหนดเวลามาตรฐานเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ ในแผนการจ่ายเงินจูงใจ 2 กรณี Rujipas Potongsangarun

6 3 ประการ เหตุผลหลัก การเพิ่มผลผลิตแรงงาน
การศึกษาการทำงานและแผนการจ่ายเงินจูงใจ 1.วิธีการทำงานที่ปรับปรุงให้ดีขึ้นทำให้คนงานมีผลงานมากขึ้นโดย ใช้ความพยายามเท่าเดิม 2.ถ้าคนงานเข้าใจมาตรฐานผลผลิตต่อวัน และได้รับเงินเพิ่มสำหรับผลงานที่ได้สูงกว่ามาตรฐานผลผลิตต่อวัน คนงานจะพยายามลดเวลาสูญเปล่าเท่าที่จะทำได้ เช่น การขาด-ลา-มาสาย และการออกจากงานก่อนเวลา จะลดน้อยลงอีกทั้งยินดีทำงานในเวลาพักเพื่อจะให้ได้ผลงานมากขึ้นและให้ค่าตอบแทนสูงขึ้น Rujipas Potongsangarun

7 การให้เงินจูงใจรายตัว
3.การกำหนดมาตรฐานของงาน สามารถให้คนงานส่วนใหญ่ที่ทำงานได้ผลงานตามมาตรฐานโดยไม่ยาก การให้เงินจูงใจจะเป็นการส่งเสริมให้คนงานเพิ่มผลผลิตจากปริมาณผลผลิตที่เคยทำได้ การให้เงินจูงใจรายตัว แผนการจูงใจรายตัว จ่ายตามผลงานรายชิ้น (Piecework Plan,PWP) จ่ายตามมาตรฐานชั่วโมงการทำงาน(Standard Hour Plan SHP) จ่ายตามผลงานรายวันที่วัดได้(Measured Daywork Plan, MDP) Rujipas Potongsangarun

8 แผนการจ่ายเงินตามผลงานรายชิ้น มีหลักเกณฑ์ 2 ประการ
การจ่ายเงินจูงใจเป็นสัดส่วนโดยตรงกับจำนวนชิ้นที่ผลิตได้ จะต้องมีหลักประกันจำนวนอัตราผลงานขั้นต่ำรายวัน ปริมาณงานเกินกว่าเกณฑ์ ทำงาน เกณฑ์มาตรฐาน บันทึก เพื่อเป็นข้อมูลใช้ในการจ่ายเงินจูงใจ Rujipas Potongsangarun

9 1.ยุ่งยากในการคำนวณค่าเงินจูงใจเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าจ้าง
ข้อเสีย 1.ยุ่งยากในการคำนวณค่าเงินจูงใจเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอัตราค่าจ้าง 2.หากเวลาและเกณฑ์มาตรฐานต่ำเกินไปจะทำให้คนงานได้รับเงินจูงใจสูงเกินไป 3.การใช้แผนการจูงใจอาจส่งผลต่อคุณภาพที่ลดลงเพราะต้องการเพิ่มเพียงแค่ชิ้นงาน Rujipas Potongsangarun

10 แผนการจ่ายเงินตามมาตรฐานชั่วโมงการทำงาน
เน้นการบันทึกข้อมูลเป็นจำนวนมาตรฐานชั่วโมงของการทำงาน การคำนวณ มาตรฐานชั่วโมงการทำงานจากผลงานที่ได้ต่ออัตราการผลิตมาตรฐาน SHEi = Ni / SPRi ลดปัญหาในกรณีที่อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงเปลี่ยนแปลงเพราะการจ่ายเงินเป็นชั่วโมงรายได้ของคนงาน Eni = ∑(SHEi)(WRi ) Rujipas Potongsangarun

11 2.การคำนวณรายได้ง่ายกว่า
ข้อดี 1.มาตรฐานการผลิตไม่เปลี่ยนแปลงทำให้การคำนวณมาตรฐานชั่วโมงการทำงานได้ง่ายขึ้น 2.การคำนวณรายได้ง่ายกว่า แผนการจ่ายเงินตามผลงานรายวันที่วัดได้ เป็นการหลีกเลี่ยงวิธีการจ่ายเงินโดยใช้การศึกษาเวลา Rujipas Potongsangarun

12 การจ่ายเงินจูงใจในรายกลุ่ม
เป็นการเน้นผลงานของกลุ่มมากกว่ารายตัว ผลผลิตโดยรวมของกลุ่มจึงเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการจ่ายเงินจูงใจ ความพยายามในการเพิ่มผลผลิตรายตัวย่อมส่งผลให้เกิดผลผลิตโดยรวมสูงขึ้น ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม Rujipas Potongsangarun

13 แผนการจ่ายเงินจูงใจรายกลุ่ม
แผนการ Scanion แผนการ Rucker แผนการ Kaiser แผนการ Tonnage แผนการตามยอดขาย แผนการแบ่งปันกำไร แผนการ Improshare Rujipas Potongsangarun

14 แผนการ Scanion แผนการ Rucker แผนการKaiser
กำหนดเงินจูงใจให้คนงานจำนวน 32.5 % ของส่วนที่ประหยัดค่าแรงและวัสดุจากการเพิ่มผลผลิต แผนการนี้มีหลักประกันในการช่วยเงินจูงใจตามหลักเกณฑ์ โดยไม่คำนึงถึงกำไรหรือขาดทุน Rujipas Potongsangarun

15 แผนการ Tonnage ใช้เกณฑ์มาตรฐานของผลผลิตคิดเป็นน้ำหนักตันต่อชั่วโมง แรงงานที่เพิ่มขึ้น เช่น ผลผลิตเพิ่มขึ้น 10 % จะได้โบนัสเพิ่ม 10 % แผนการตามยอดขาย ใช้หลักเกณฑ์จ่ายโบนัสตามยอดขาย ผลผลิตที่ขายได้เพิ่มมากขึ้นหรือลดลง โดยไม่คำนึงว่าผลงานการเพิ่มผลผลิตจะสูงขึ้นมากเท่าไร Rujipas Potongsangarun

16 หลักเกณฑ์การจ่ายโบนัสตามผลกำไร
แผนการแบ่งปันกำไร หลักเกณฑ์การจ่ายโบนัสตามผลกำไร แผนการ Improshare Rujipas Potongsangarun

17 Rujipas Potongsangarun


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google