ปัจจุบันโลกเราก้าวล้ำเทคโนโลยีไปอย่างรวดเร็วทำให้การ พัฒนาด้านการศึกษารุกหน้าก้าวไกลตามเทคโนโลยีด้วย เครือข่าย คอมพิวเตอร์ เป็นแหล่งรวบรวมขุมทรัพย์ทางปัญญาอย่างมากมาย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยี
Advertisements

บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
การบริหารจัดการเว็บไซต์หน่วยงานในสังกัดกรมปศุสัตว์
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
SMS News Distribute Service
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Supply Chain Management
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัจจุบันโลกเราก้าวล้ำเทคโนโลยีไปอย่างรวดเร็วทำให้การ พัฒนาด้านการศึกษารุกหน้าก้าวไกลตามเทคโนโลยีด้วย เครือข่าย คอมพิวเตอร์ เป็นแหล่งรวบรวมขุมทรัพย์ทางปัญญาอย่างมากมาย มหาศาลในลักษณะที่สื่อประเภทอื่น ไม่สามารถกระทำได้ ผู้เรียนจะมี ความสะดวกต่อการค้นหาข้อมูลในลักษณะใดก็ได้ เช่น การค้นหา หนังสือ หรืออ่านบทคัดย่อ จากห้องสมุดออนไลน์(E-Library) การเข้าไป อ่าน หนังสือนิตยสารต่าง ๆ วรรณกรรม ตำรา วารสาร หรือเอกสาร ทางวิชาการบนเครือข่าย ไม่ว่าจะอยู่สถานที่ใดก็ตาม

ไม่ว่าจะเป็น โรงเรียนต่างจังหวัด โรงเรียนในเมือง หรือ โรงเรียนในต่างประเทศ ก็สามารถเข้าไปใช้ เครือข่ายได้อย่างเท่าเทียม กันโดยผ่าน (E-learning) เกิดทักษะการคิดอย่างมีระบบ (high-order thinking skills) โดยเฉพาะทักษะการวิเคราะห์ แบบสืบค้น (inquiry- based analytical skills) การคิดเชิงวิเคราะห์ (critical thinking) การวิเคราะห์ข้อมูล การแก้ปัญหา และการคิดอย่างอิสระ

ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียน เรียนศิลปะโดยการหัดวาด รูป ใช้โปรแกรม Microsoft Word ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI ) เป็นกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ คอมพิวเตอร์นำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ เป็นการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ นักเรียนสามารถใช้ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตศึกษาค้นคว้าข้อมูลในแต่ละ กลุ่มสาระข่าวสารทางวิชาการอื่น จากที่ต่าง ๆ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic ) หรือ ( ) เพื่อใช้รับส่งข่าวสาร ข้อมูล รูปภาพ และส่งงานให้ครูตรวจในแต่ละกลุ่มสาระ นำระบบ e-Learning มาใช้ในการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Learning ) หรือ E-Learning การศึกษาเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียน ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การเรียนในชั้นเรียนปกติ 1 1

ห้องเรียนอัจฉริยะ ( Electronic Classroom ) หรือ E-Classroom เป็น การจัดระบบบริหารจัดการห้องเรียน ที่ใช้การเรียนการสอนแบบ On-Line 3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E- Book ) และห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ ( E- Library ) เพื่อเสริมการเรียนการสอน ให้แก่นักเรียน ครู และสำหรับสถานศึกษาที่สอนใน ระดับประถมปลาย เนื่องจากเด็กวัยนี้กำลังอยากรู้อยากเห็นและอยากพิสูจน์ ความสามารถของ 2 2

ติดตั้งระบบ Fiber optic เครือข่ายภายในโรงเรียน (LAN) และ Internet ความเร็วสูงทั้งระบบ 1 1

พัฒนาระบบแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบทาง อินเตอร์เน็ต โดยอำนวยความสะดวก ให้ผู้ปกครองสามารถตรวจสอบผลการ เรียนของนักเรียนจากที่บ้านได้ และอบรมให้ครูส่งผลการเรียนทางอินเตอร์เน็ต เพื่อช่วยลดภาระของ เจ้าหน้าที่งานทะเบียน และลดภาระของครูผู้สอนในการ บันทึก ปพ. ในระบบเก่า พัฒนาระบบแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบทาง อินเตอร์เน็ต โดยอำนวยความสะดวก ให้ผู้ปกครองสามารถตรวจสอบผลการ เรียนของนักเรียนจากที่บ้านได้ และอบรมให้ครูส่งผลการเรียนทางอินเตอร์เน็ต เพื่อช่วยลดภาระของ เจ้าหน้าที่งานทะเบียน และลดภาระของครูผู้สอนในการ บันทึก ปพ. ในระบบเก่า 2 2

การให้บริการอินเตอร์เน็ตให้แก่นักเรียนเพื่ออำนวยความสะดวกในการ ค้นคว้าข้อมูลในการทำรายงานหรือการเรียนการสอน 3 3

พัฒนาระบบ E-learning เพื่อให้มีการเรียนการสอนด้วยระบบ E- learning ที่สมบูรณ์ ครู และนักเรียนมีความเข้าใจในการใช้งานระบบนี้ และใช้ เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน มีระบบกลั่นกรองเว็บไซต์ ที่ไม่พึงประสงค์ พัฒนาระบบ E-learning เพื่อให้มีการเรียนการสอนด้วยระบบ E- learning ที่สมบูรณ์ ครู และนักเรียนมีความเข้าใจในการใช้งานระบบนี้ และใช้ เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน มีระบบกลั่นกรองเว็บไซต์ ที่ไม่พึงประสงค์ 4 4

พัฒนาเว็บไซต์ของโรงเรียน ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายของบุคคลทั่วไป และเป็นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลสำหรับครูผู้สอนและนักเรียน รวมทั้งเป็นสื่อใน การประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรียน และงานกิจกรรมต่าง ๆ ของ โรงเรียนให้หน่วยงานภายนอกได้รับรู้ 5 5

นำระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) มาให้บริการในห้องสมุด ออนไลน์ และสามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้และจากห้องสมุดทั่วโลกไม่ ว่าจะเป็นสื่อผสมในรูปคลิปวีดีโอ ภาพ การ์ตูน animation 6 6

ในด้านการบริหารมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง โดยให้ทุกฝ่าย/ งานใช้การอ้างอิงจากฐานข้อมูลเดียวกันทั้งโรงเรียน โดยนำโปรแกรมที่ใช้ในการ พัฒนาระบบฐานข้อมูล มาใช้ในการบริหารระบบงานของโรงเรียน โดยขั้นแรก จะมีการอบรมให้ครูแกนนำ เพื่อถ่ายทอดต่อกับเพื่อนครูและอบรมให้ฝ่าย/งานที่ เกี่ยวข้องที่ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลร่วมกัน คือ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารงบประมาณ ในด้านการบริหารมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง โดยให้ทุกฝ่าย/ งานใช้การอ้างอิงจากฐานข้อมูลเดียวกันทั้งโรงเรียน โดยนำโปรแกรมที่ใช้ในการ พัฒนาระบบฐานข้อมูล มาใช้ในการบริหารระบบงานของโรงเรียน โดยขั้นแรก จะมีการอบรมให้ครูแกนนำ เพื่อถ่ายทอดต่อกับเพื่อนครูและอบรมให้ฝ่าย/งานที่ เกี่ยวข้องที่ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลร่วมกัน คือ ฝ่ายบริหารงานวิชาการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายบริหารทั่วไป ฝ่ายบริหารงบประมาณ 7 7

การสร้างเสริมคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้น เสริมสร้างความเท่าเทียม ในสังคมและการกระจาย โอกาส สารสนเทศกับการเรียน การสอนในโรงเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศกับ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศกับ การป้องกันประเทศ การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศมี ผลเกี่ยวข้องกับทุกเรื่อง ในชีวิตประจำวัน

ก่อให้เกิดความเครียดใน สังคมมากขึ้น ก่อให้เกิดการรับ วัฒนธรรม ก่อให้เกิดผลด้านศีลธรรม การละเมิดสิทธิเสรีภาพ ส่วนบุคคลโดยการเพย แพร่ข้อมูลหรือรูปภาพ ต่อสาธารณชน การมีส่วนร่วมของคนใน สังคมลดน้อยลง เกิดช่องว่างทางสังคม อาชญากรรมบน เครือข่าย ก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในคริสต์ศตวรรษที่21มี แนวโน้มที่จะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถใกล้เคียงกับมนุษย์ เช่น การเข้าภาษาสื่อสารของมนุษย์ โครงข่ายประสาทเทียม ระบบ จำลอง ระบบเสมือนจริง โดยพยายามนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์มาก ขึ้นลดข้อผิดพลาดและป้องกันไม่ให้นำไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้องหรือ ผิดกฎหมาย

การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ เชื่อมโยงกันทั่วโลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ช่องทางการ ดำเนิน ธุรกิจ การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็น ภาษา พูดได้ อ่านตัวอักษรหรือลายมือเขียนได้ การพัฒนาระบบ สารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพื่อพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญและ การจัดการความรู้

การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) การเรียนการสอนด้วยระบบโทรศึกษา (tele- education) การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากห้องสมุด เสมือน (virtual library) การพัฒนาเครือข่ายโทร คมนาคม ระบบการ สื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ เครือข่ายการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ดำเนินการของภาครัฐที่ เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-government)

ความผิดพลาดในการทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วน ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดขึ้นจากการออกแบบและพัฒนา ทำให้ เกิดความเสียหายต่อระบบและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา การ ละเมิดลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทางปัญญา การทำสำเนาและ ลอกเลียนแบบ การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรม ข้อมูล การล่วงละเมิด การก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์

การผลิต (production) เป็นกระบวนการแปรรูปทรัพยากรการผลิต เช่น วัตถุดิบ แรงงาน และ พลังงาน ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่พร้อมในการจัดจำหน่ายแก่ลูกค้า โดยผู้ผลิตต้องพยากรณ์ปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของลูกค้า ตลอดจนควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นที่ต้องการของลูกค้า โดยมีต้นทุนการผลิตที่ เหมาะสม ทำให้มีการประยุกต์หลักการของการจัดการผลิตกับงานด้านบริการ ซึ่งเราจะ เรียกการผลิตในหน่วยบริการว่า “การดำเนินงาน (operations)” โดยที่แหล่งข้อมูลใน การผลิตและการดำเนินงานขององค์การ มีดังต่อไปนี้

ข้อมูลการผลิต/การดำเนินงาน ข้อมูลสินค้าคงคลัง ข้อมูลจากผู้ขายวัตถุดิบ ข้อมูลแรงงานและบุคลากร กลยุทธ์องค์การ

MIS MIS ถูกนำไปใช้การตัดสินใจของ ผู้บริหารทุกระดับ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถเรียก ค้นข้อมูลได้รวดเร็ว แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับ ปัญหาแบบมีโครงสร้าง (Structured Problems) เน้นการแก้ปัญหาที่เกิดกับงาน ประจำ

MIS MIS เป็นระบบงาน ซึ่งผสมผสาน ข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่งหรือระบบย่อยหลาย ๆ ระบบที่มีความสัมพันธ์กันเพื่อจัดทำ สารสนเทศเป็นภาพรวมที่สมบูรณ์ของทั้งระบบ

การพัฒนาระบบสารสนเทศ จะเริ่ม จากความต้องการและความเห็นชอบของ ผู้บริหารเพื่อจัดเตรียมสารสนเทศให้แก่ผู้บริหาร ช่วยในการตัดสินใจและบรรลุจุดมุ่งหมาย โดยรวมองค์กร

MIS MIS จะใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้า มาช่วย เนื่องจากข้อมูลในองค์กรหนึ่ง ๆ มีเป็น จำนวนมากและมีความสลับซับซ้อน คอมพิวเตอร์จึงถูกนำมาใช้เพื่อสร้าง MIS ให้แก่ ผู้บริหาร ใช้ในการตัดสินใจได้ในเวลาอันรวดเร็ว และเหมาะสม

สารสนเทศนั้นจะถือว่าเป็นทรัพยากร ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งเช่นเดียวกับพนักงาน เครื่องจักร เงินทุนและวัตถุดิบ จุดมุ่งหมายของ MIS คือจัดทำสารสนเทศที่เป็นประโยชน์แก่ องค์กรเพื่อใช้ควบคุม การทำงานและการจัดการ ขององค์กร

การมีส่วนร่วมของผู้ใช้ MIS จะไม่ ประสบความสำเร็จถ้าปราศจากจากความ ร่วมมือและความพอใจของผู้ใช้งานถึงแม้ว่ามี ระบบที่ดีเพียงใดก็ตามถ้าผู้ใช้งานเกิดความรู้สึก ต่อต้านและคดว่า MIS จะมาแย่งงานของตนไป

ทำการจัดเก็บข้อมูลสร้างเป็น ฐานข้อมูลเก็บไว้ ซึ่งฐานข้อมูลนี้เป็นการ รวบรวมข้อมูลให้เป็นหนึ่งเดียว วัตถุประสงค์คือ ต้องการจะหลีกเลี่ยงความซับซ้อนของการเก็บ ข้อมูล

1. ส่วนที่นำเข้า (Inputs) ได้แก่การรวบรวมและการจัดเตรียมข้อมูลดิบ ส่วนที่นำเข้า นี้สามารถมีได้หลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการโทรเข้าเพื่อขอ ข้อมูลในระบบสอบถามเบอร์โทรศัพท์ ขึ้นอยู่กับส่วน แสดงผลที่ต้องการ ส่วนที่นำเข้านี้อาจเป็นขบวนการที่ทำ ด้วยตัวเองหรือเป็นแบบอัตโนมัติก็ได้ เช่นการอ่านข้อมูล รายชื่อสินค้าและรายราคาโดยเครื่องอ่าน บาร์โค้ดของ ห้างสรรพสินค้า จัดเป็นส่วนที่นำเข้าแบบอัตโนมัติ

2. การประมวลผล (Processing) เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนและการแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูป ของส่วนแสดงผลที่มีประโยชน์ ตัวอย่างของการ ประมวลผลได้แก่การคำนวณ การเปรียบเทียบ การเลือก ทางเลือกในการปฏิบัติงานและการเก็บข้อมูลไว้ใช้ใน อนาคต โดยการประมวลผลสามารถทำได้ด้วยตนเองหรือ สามารถใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยก็ได้ ตัวอย่างเช่น ระบบคิดเงินเดือนพนักงาน

3. ส่วนที่แสดงผล (Outputs) เกี่ยวข้องกับการผลิตสารสนเทศที่มีประโยชน์ มักจะอยู่ ในรูปของเอกสาร หรือรายงานหรืออาจะเป็นเช็คที่จ่าย ให้กับพนักงาน รายงานที่นำเสนอผู้บริหารและ สารสนเทศที่ถูกผลิตออกมาให้กับผู้ถือหุ้น ธนาคาร หรือ กลุ่มอื่นๆ โดยส่วนแสดงผลของระบบหนึ่งอาจใช้เป็นส่วน ที่นำเข้าเพื่อควบคุมระบบหรืออุปกรณ์อื่นๆ ก็ได้ เช่นใน ขบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์

4. ผลสะท้อนกลับ (Feedback) คือส่วนแสดงผลที่ใช้ในการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ ส่วนที่นำเข้าหรือส่วนประมวลผล เช่น ความผิดพลาด หรือปัญหาที่เกิดขึ้น อาจจำเป็นต้องแก้ไขข้อมูลนำเข้า หรือทำการเปลี่ยนแปลงการประมวลผลเพื่อให้ได้ส่วน แสดงผลที่ถูกต้อง ตัวอย่างเช่น ระบบการจ่ายเงินเดือน พนักงาน

ระบบสารสนเทศไม่ได้เพียงหมายความถึงเพียงระบบ คอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่การใช้ระบบสารสนเทศเพื่อ การจัดการอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ผู้บริหาร จำเป็นต้องเข้าใจองค์ประกอบของระบบ 3 ด้าน ได้แก่ ข้อมูลสารสนเทศ องค์การและการจัดการ รวมทั้งเทคโนโลยี และอุปกรณ์ด้วย

ความก้าวหน้าและพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศส่งผลกระทบ ต่อการปฎิบัติงานแต่ละหน่วยงานมากขึ้น องค์การต่าง ๆ ในฐานะที่เป็นระบบ ย่อยภายในระบบสังคมมีความจำเป็นที่จะต้องปรับตัว เพื่อความอยู่รอดและการ เจริญเติบโตในอนาคต โดยมีข้อแนะนำในการเตรียมตัวเพื่อก้าวสู่ยุคสารสนเทศ อย่างมั่นคง ดังต่อไปนี้

ปัจจุบันพัฒนาการและการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในองค์การ ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ซึ่งก่อให้เกิดความท้า ทายแก่ผู้บริหารในอนาคตให้นำเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ธุรกิจ โดยผู้บริหารต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และวิสัยทัศน์ต่อแนวโน้มของเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถตัดสินใจนำเทคโนโลยีมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเรา สามารถจำแนกผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่อการทำงานขององค์การออก เป็น 5 ลักษณะ ดังต่อไปนี้

การปรับปรุงรูปแบบการทำงานขององค์การ การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลยุทธ์ เครื่องมือในการทำงาน การเพิ่มผลผลิตของงานโดยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เทคโนโลยีในการติดต่อสื่อสาร

ปัจจุบันความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศได้มี บทบาทที่สำคัญต่อวิถีชีวิตและสังคมของมนุษย์ เทคโนโลยี สารสนเทศก่อให้เกิดรูปแบบใหม่ในการติดต่อสื่อสารและมี ปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลทำให้มีการพัฒนาและกระจายตัว ของภูมิปัญญา ซึ่งต้องอาศัยบุคคลที่มีความรู้และความ เข้าใจในการใช้งานเทคโนโลยี โดยที่ผู้บริหารจะต้องเตรียม ความพร้อมสำหรับองค์การดังต่อไปนี้

ทำความเข้าใจต่อบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจปัจจุบัน ระบบสารสนเทศเกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลขององค์การ วางแผนที่จะสร้างและพัฒนาระบบ