ความปลอดภัยและระเบียบ ปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ ด้านชีววิทยาและวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม นางสาวนิรันตรี ทวีโคตร นักวิทยาศาสตร์ ประจำศูนย์ วิทยาศาสตร์
ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ เป็นสถานที่จัดให้ นักศึกษาได้ทำปฏิบัติทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีสิ่ง อำนวยความสะดวกในการทำปฏิบัติการและ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องแก้ว สารเคมีแก๊สชนิดต่าง ๆ รวมทั้ง อาหารเลี้ยงเชื้อและจุลินทรีย์และสัตว์ทดลอง ซึ่งสิ่งเหล่านี้อาจทำให้เกิดอันตรายต่อบุคคล ดังนั้นถ้าผู้ปฏิบัติการขาดความระมัดระวังหรือ ขาดความรู้อาจทำให้เกิดความเสียหายหรือ ทรัพย์สินของห้องปฏิบัติการได้ ฉะนั้น สถานศึกษาจึงมีการจัดการให้เป็นระบบและมี แบบแผนขั้นตอนดำเนินงาน เพื่อให้การทำ ปฏิบัติการมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูง
1. ความปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าบางชนิด ที่ออกแบบให้มีเต้าเสียบ 3 ขาจะต้องใช้เต้าเสียบนี้ ต่อกับเต้ารับที่มี 3 ช่องเท่านั้น เพื่อช่วยป้องกัน อันตรายจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจร 2. ความปลอดภัยในการใช้แก๊สและสารไวไฟ ก่อนเปิดวาล์วควรตรวจสอบสภาพของสายแก๊ส และหัวแก๊สเมื่อเลิกใช้แล้ว ต้องปิดวาล์วก่อนปิด เครื่องควบคุมความดันของแก๊สที่ใช้ทุกครั้ง แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย
แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย ต่อ 3. ความปลอดภัยจากรังสีและไอสารพิษ อันตรายจากสารเคมีเป็นสมบัติเฉพาะตัวของ สารแต่ละชนิดสารบางชนิดมีพิษร้ายแรง ไอของ สารอาจทำให้ ระคายเคืองต่อดวงตา และระบบ หายใจ บางชนิดเป็นสารกัมมันตรังสีที่ทำลาย เนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต อาจทำให้เนื้อเยื่อตายหรือ เปลี่ยนแปลงไปจนเกิดเป็นโรคมะเร็งได้ การทดลองที่มีควันพิษเกิดขึ้น จะต้องใช้ผ้า กรองควันพิษปิดจมูกและปาก และทำปฏิบัติการ ในตู้ดูดควัน (HOOD)
4. ความปลอดภัยจากเชื้อโรค การทำปฏิบัติการทางชีววิทยาที่ต้องใช้พืช สัตว์ และจุลินทรียในการทดลองจุลินทรีย์บางชนิดอาจ เป็นอันตรายหรือทำให้ เกิดโรคได้ ตู้เย็นที่ใช้ในห้องปฏิบัติการต้องไม่เก็บอาหาร หรือ เครื่องดื่มที่ใช้รับประทานไว้กับสารเพราะจะทำให้ เกิดอันตรายต่อร่างกาย หรือก่อให้เกิดโรคได้ เครื่องแก้วที่ใช้ทดลองเกี่ยวกับเชื้อโรค ต้องฆ่า เชื้อด้วยวิธีการที่เหมาะสม (Clave) ก่อนนำไปล้าง ทำความสะอาดจนไม่มีคราบติดค้างอยู่ แนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย ต่อ
การบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ 1. การเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ สารเคมี 2. การขอใช้ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์และ ห้องปฏิบัติการ 3. การจัดเก็บวัสดุและสารเคมี 4. การดูแล บำรุงรักษาครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์และ ห้องปฏิบัติการตรวจสอบการชำรุด เพื่อแจ้ง ให้กับหัวหน้าหน่วยงาน
1. การเบิกจ่ายวัสดุอุปกรณ์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม สาขาวิชา ชีววิทยา
2. การขอใช้ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และห้องปฏิบัติการ แบบฟอร์มขอใช้ครุภัณฑ์และ ห้องปฏิบัติการ บันทึกการใช้งานทุกครั้งลงใน LOG BOOK
3. การจัดเก็บวัสดุและสารเคมี การจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ทั้งประเภทเครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องแก้วจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยและการใช้ ประโยชน์วัสดุอุปกรณ์พวกที่ใช้งานอย่างสม่ำเสมอ หรือที่ใช้นานครั้งควรแยกกันไว้ เพื่อสะดวกในการใช้ อุปกรณ์ทางชีววิทยา ประกอบด้วย กล้องจุลทรรศน์ ประเภทต่าง ๆ เช่น E600 E400 E200 หรือกล้องสเต อริโอ เก็บในตู้ที่มีถุงซิริกาเจล เพื่อดูดความชื่น หรือมี หลอดไฟฟ้า องศา เพื่อรักษาสภาพของอุปกรณ์ การจัดเก็บสารเคมี การจดเก็บสารเคมีที่ดีจะช่วย ป้องกันไม่ให้มีอันตรายเกิด ขึ้น ตามปกติไม่ควรเก็บ สารเคมีใน ห้องปฏิบัติการหรือห้องเตรียมปฏิบัติการ และไม่ควรเก็บสารเคมีไว้ในปริมาณมากเกินความ จำเป็น 3. การจัดเก็บวัสดุและสารเคมี
- การแยกเก็บสารเคมีตามประเภทของสารชนิด ต่าง ๆ - การจัดเก็บแยกไว้บนชั้น - การเก็บในตู้เย็น - การเก็บสารเคมีแยกไว้โดยเฉพาะ
- เมื่อครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์มีการชำรุดและใช้งาน ไม่ได้ หน้าที่ของนักวิทยาศาสตร์จะเป็นคน ประสานการซ่อมบำรุงโดยผ่านการอนุมัติของ หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์ 4. การดูแล บำรุงรักษาครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ และห้องปฏิบัติการตรวจสอบการชำรุด เพื่อแจ้ง ให้กับหัวหน้าหน่วยงาน ข้อแนะนำในการใช้ห้องปฏิบัติการ วิทยาศาสตร์ - ระมัดระวังในการทำปฏิบัติการและทำปฏิบัติการ อย่างตั้งใจไม่เล่นหยอกล้อก้น - อ่านคู่มือการใช้อุปกรณ์ทดลองทุกชนิดก่อนใช้ งาน ถ้าเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าจะต้องให้ มือแห้งสนิท ก่อนใช้การถอดหรือเสียบเต้าเสียบต้องจับที่เตา เสียบ เท่านั่นอย่าจับที่สายไฟ
Thank you