การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ การจัดทำแผน บริหารความเสี่ยง ตามเกณฑ์ PMQA ประจำปี พ. ศ. 2552” วันที่ 25 – 27 กุมภาพันธ์ 2552 ณ ห้องอเนกประสงค์ อาคาร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การกำหนดตำแหน่งการพัฒนาของอำเภอ (Positioning)
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ประวัติ โรงเรียนวัดท่า ข้าม โรงเรียนวัดท่าข้าม ตั้งอยู่เลขที่ 54 หมู่ 3 ตำบลท่า ข้าม อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม มีพื้นที่โรงเรียนทั้งหมดรวม 1 ไร่ 2 งาน.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
1.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ การจัดทำแผน บริหารความเสี่ยง ตามเกณฑ์ PMQA ประจำปี พ. ศ. 2552” วันที่ 25 – 27 กุมภาพันธ์ 2552 ณ ห้องอเนกประสงค์ อาคาร หอประชุมกรมประชาสัมพันธ์

กำหนดการ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2552  – น.ลงทะเบียนรับเอกสาร  –10.00 น.พิธีเปิดการประชุมฯ ชี้แจงวัตถุประสงค์และแนวทางการ ประชุม โดยนางจิตติมา จารุจินดา  – น.ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์และ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงตาม เกณฑ์ PMQA : โดยนางสาวสุนิษา บุญรอด  – น.(พักรับประทานอาหารกลางวัน )  – น.ชี้แจงแนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ โดยนางเสาวรีย์ อัมภสุวรรณ์  – น.การประชุมกลุ่มย่อย วิเคราะห์และ จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง โครงการสำคัญ

วัตถุประสงค์และแนวทางการ ดำเนินการ  เพื่ออธิบายแนวทางการบริหารความ เสี่ยง ประจำปี 2552 ตามเกณฑ์ PMQA ระดับพื้นฐาน  เพื่อวิเคราะห์และจัดทำแผนบริหาร ความเสี่ยงตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2552  เพื่อติดตามแผนการควบคุมภายใน ประจำปี 2552

แผนควบคุมภายในและ บริหารความเสี่ยง กปส. ประจำปี พ. ศ.2552 แผนควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยง ความเสี่ยงจาก สำนัก / กอง ความเสี่ยงจากการ วิเคราะห์ ปัจจัยอื่น ๆ เช่น จากเกณฑ์ PMQA

กิจกรรมการควบคุมภายในและ บริหารความเสี่ยง ประจำปี งบประมาณ พ. ศ ประเด็นยุทธศาสตร์กระบวนงานความเสี่ยง 1 ขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ด้านการ ประชาสัมพันธ์ของ ชาติและนโยบาย รัฐบาลอย่างมี เอกภาพและมี ประสิทธิภาพ จัดทำนโยบายและ ดำเนินการแผนการ ประชาสัมพันธ์ระดับชาติ และระดับพื้นที่ 1. การดำเนินโครงการ ประชาสัมพันธ์ยังไม่ครอบคลุม พื้นที่ และไม่ตรงกลุ่มเป้าหมาย 2. การรายงานผลการดำเนินงาน ล่าช้า 3. ไม่มีแผนเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับภาวะวิกฤติ/การเกิด เหตุฉุกเฉินต่อองค์กร 4. ขาดการวิเคราะห์ผลกระทบ เชิงลบขององค์กรต่อสังคม

กิจกรรมการควบคุมภายในและ บริหารความเสี่ยง ประจำปี งบประมาณ พ. ศ ประเด็นยุทธศาสตร์กระบวนงานความเสี่ยง 2 พัฒนา ประสิทธิภาพและ คุณภาพด้านการ ประชาสัมพันธ์และ สื่อสารมวลชน 1. กระบวนงานผลิตและ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 2. กระบวนงานผลิตและ เผยแพร่สื่อเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ 1. นโยบายในการดำเนินงานไม่ ชัดเจน ไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน 2. การออกอากาศไม่เป็นไปตาม ผังรายการ 3. การส่งกระจายเสียงไม่ ครอบคลุมพื้นที่ 3 : เพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารและพัฒนา บุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถเป็นที่ ยอมรับอย่างมืออาชีพ และมีความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงาน กระบวนงานการจัดการ ฝึกอบรมทางวิชาการ และวิชาชีพด้านการ สื่อสารมวลชนและการ ประชาสัมพันธ์ 1. การออกแบบหลักสูตรการ พัฒนาบุคลากรขาดการวิเคราะห์ ให้มีความสอดคล้องตามความ ต้องการขององค์กร

กิจกรรมการควบคุมภายในและ บริหารความเสี่ยง ประจำปี งบประมาณ พ. ศ ประเด็นยุทธศาสตร์กระบวนงานความเสี่ยง กระบวนงานสนับสนุน1. ไม่มีการกำหนดนโยบายใน การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อ การประชาสัมพันธ์ให้แน่ชัด เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 2. การบริหารงบประมาณไม่ เป็นไปตามแผน โดยเฉพาะงบ ลงทุน 3. ขาดแผนทิศทางการพัฒนา บุคลากรระยะยาว 4. บุคลากรขาดการทำงานเชิง บูรณาการ/เป็นทีม เพื่อเชื่อมโยง การปฏิบัติราชการตามภารกิจ ขาดการทำงานที่พร้อมรับต่อการ เปลี่ยนแปลง

กิจกรรมการควบคุมภายในและ บริหารความเสี่ยง ประจำปี งบประมาณ พ. ศ ประเด็นยุทธศาสตร์กระบวนงานความเสี่ยง กระบวนงานสนับสนุน5. การจัดสรรอัตรากำลังยังไม่มี ประสิทธิภาพที่สามารถรองรับ การทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ ได้ดี 6. อุปกรณ์การส่งกระจายเสียง ออกอากาศ มีอายุการใช้งาน นาน เสื่อมประสิทธิภาพ ล้าสมัย และไม่เพียงพอ 7. ข้าราชการในระดับ 7 – 9 มี การทำผิดวินัยมากขึ้น 8. ผู้บริหารแต่ละระดับยังไม่ สามารถใช้ข้อมูลเพื่อการบริหาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การบริหารความเสี่ยง  ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์ / การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้ สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และส่งผล กระทบหรือสร้างความเสียหาย ( ทั้งที่ เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ) หรือ ก่อให้เกิดความล้มเหลว หรือลด โอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายตามภารกิจ หลักที่กำหนด ในกฎหมายจัดตั้งส่วน ราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการ  การบริหารความเสี่ยง (Risk management) หมายถึงกระบวนการที่ ใช้ในการระบุความเสี่ยง การวิเคราะห์ ความเสี่ยง และการกำหนดแนว ทางการควบคุมเพื่อป้องกันหรือลด ความเสี่ยง

โครงการสำคัญของ กปส. ในปี 2552  โครงการประชาสัมพันธ์เทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ (23,217,000.- บาท)  โครงการประชาสัมพันธ์สร้างความสามัคคีของ คนในชาติ (17,500,000.- บาท)  โครงการประชาสัมพันธ์ส่งเสริมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย (13,464,000.- บาท)  โครงการประชาสัมพันธ์แก้ไขปัญหาความ ยากจน (12,070,000.- บาท)  โครงการประชาสัมพันธ์เชิงรุกในการบรรเทา ภาวะโลกร้อน (8,749,000.- บาท)

โครงการสำคัญของ กปส. ในปี 2552 โครงการ Flag Ship  โครงการจัดตั้งสำนักข่าวแห่งชาติ (50,000,000.- บาท)  โครงการพัฒนาประสิทธิภาพสถานีวิทยุ โทรทัศน์แห่งประเทศไทย (80,000,000.- บาท)

ขั้นตอนในการบริหารความ เสี่ยง ระบุปัจจัยเสี่ยง ติดตาม รายงาน ประเมินผล กำหนด มาตรการจัดการ ความเสี่ยง วิเคราะห์ ความเสี่ยง ทบทวน การบริหาร ความเสี่ยง

การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) วิเคราะห์ขั้นตอนของแผน ระบุความเสี่ยง ระบุสาเหตุของความเสี่ยง

 ศึกษา และทบทวนเอกสารต่างๆที่ เกี่ยวข้อง  ระดมความคิดจากผู้บริหารและ บุคคลที่เกี่ยวข้อง  สัมภาษณ์ผู้ที่มีผู้เชี่ยวชาญหรือ ผู้ปฏิบัติงานในแต่ละแผนงาน  ศึกษาข้อมูลหรือผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการในอดีต การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification)

โครงการ/กิจกรรม/กระบวนงาน ปัจจัยเสี่ยง/ประเภท ความเสี่ยง ผลกระทบต่อด้านต่างๆ การเงินบุคลากรการบริการชื่อเสียงเวลา ความ ปลอดภัย ความสำเร็จ... ด้านกลยุทธ์ ด้านกระบวนการ ด้านการปฏิบัติการ ด้านการเงิน/ งบประมาณ ด้านธรรมาภิบาล แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง RM 1 การระบุความเสี่ยง

แนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ  ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ - พิจารณาความเสี่ยงที่เกิดจากกระบวนการกำหนด แผนกลยุทธ์ และการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์อย่างไม่ เหมาะสม รวมถึงความไม่สอดคล้องกันระหว่าง นโยบาย เป้าหมาย กลยุทธ์ โครงสร้างองค์กร การ ปฏิบัติตามแผน สภาพแวดล้อม และทรัพยากรที่มีอยู่ - พิจารณาว่าอะไรที่ทำให้กลยุทธ์ที่กำหนดไว้ไม่ สามารถดำเนินการได้ - พิจารณาจากการกำหนดผลผลิต ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ รวมถึงประโยชน์ที่จะได้รับ

แนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ  ความเสี่ยงด้านกระบวนการ - วิเคราะห์ขอบเขตของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย ขั้นตอนการดำเนินการ หรือ กระบวนการในการดำเนินโครงการ ว่ามีความ ครบถ้วน เพียงพอ เหมาะสมหรือไม่

แนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ  ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน - เป็นความเสี่ยงในการสูญเสีย ที่เกิดจาก ความไม่เพียงพอ หรือความล้มเหลวของ ขั้นตอนการปฏิบัติงานภายใน จากทรัพยากร บุคคล หรือจากเหตุการณ์ภายนอก เช่น - ความมีประสิทธิภาพของกิจกรรม การวาง สื่อ กิจกรรมเป็นไปตามแผน/กำหนดเวลา - บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้ปฏิบัติงาน ผู้อนุมัติ

แนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ  ความเสี่ยงด้านการเงิน/งบประมาณ เช่น - งบประมาณไม่เพียงพอ/ไม่เหมาะสม - การใช้จ่ายไม่เป็นไปตามการคาดคะเน (สูงกว่า ต่ำกว่า

แนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ  ความเสี่ยงด้านธรรมาภิบาล - วิเคราะห์ความเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดการ ทุจริต การปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดย มิชอบ โดยวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่ทำให้ 1. ปฏิบัติราชการโดยขาด/รับผิดชอบไม่ เพียงพอ 2. ทำให้ประชาชนขาดความเชื่อถือใน ความมีคุณธรรม จริยธรรม 3. ขาดการคำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม มากกว่าส่วนตน

แนวทางการวิเคราะห์ความ เสี่ยงโครงการสำคัญ  ประเภทของการทุจริต 1. การใช้สินทรัพย์ขององค์การในทางมิชอบ เช่น ขโมยเงิน สินค้า หรือการลักลอบใช้ ทรัพย์สินขององค์กร 2. การประพฤติมิชอบ เช่นการให้สินบน ให้ เงินสินน้ำใจที่ผิดกฎหมาย และความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ 3. การทุจริตทางการเงิน เช่น การตกแต่ง รายได้ การฉ้อโกงสินทรัพย์ การเปิดเผย ข้อมูลโดยทุจริต

การวิเคราะห์ความเสี่ยง  การประเมินความเสี่ยง  การจัดลำดับความเสี่ยง

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)  โอกาสที่จะเกิดความเสียหาย คือการพิจารณาว่าปัจจัยเสี่ยงมีโอกาสที่จะเกิดในระดับ มากน้อยเพียงใด  ความเสียหายที่จะกระทบต่อองค์กร หรือ แผนปฏิบัติราชการ คือการนำปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัยมาพิจารณาว่าหาก เกิดขึ้นแล้วมีผลกระทบต่อหน่วยงานมากน้อยแค่ไหน  ความสำคัญของความเสี่ยงที่องค์กรเผชิญอยู่ คือการลำดับความสำคัญของแต่ละปัจจัยเสี่ยงเพื่อ พิจารณาว่าความเสี่ยงใดควรพิจารณาจัดการก่อนหลัง

การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) โอกาสที่จะเกิด (L : Likelihood เป็นระดับ ของโอกาสหรือความบ่อยครั้งที่จะเกิดความ เสี่ยง) ผลกระทบ (I : Impact คือระดับความรุนแรง ของความเสี่ยงที่เกิดขึ้น) 1 = โอกาสเกิดน้อยที่สุด / รุนแรงน้อยที่สุด 2 = โอกาสเกิดน้อย / รุนแรงน้อย 3 = โอกาสเกิดปานกลาง / รุนแรงปานกลาง 4 = โอกาสเกิดมาก / รุนแรงมาก 5 = โอกาสเกิดมากที่สุด / รุนแรงมากที่สุด

โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็น ความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิดความ เสี่ยง ความถี่ที่เกิดขึ้น (เฉลี่ย)ระดับคะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก มากกว่า 1 ครั้งต่อเดือน ระหว่าง1-6 เดือนต่อครั้ง ระหว่าง 6-12 เดือนต่อ ครั้ง มากกว่า 1 ปีต่อครั้ง มากกว่า 5 ปีต่อครั้ง ตัวอย่าง

โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็น ความเสี่ยง โอกาสที่จะเกิด ความเสี่ยง เปอร์เซ็นต์โอกาส ที่จะเกิดขึ้น ระดับคะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก มากกว่า 80% 70-79% 60-69% 50-59% น้อยกว่า 50% ตัวอย่าง

ผลกระทบต่อองค์กร ( ด้าน เวลา ) ผลกระทบ ต่อองค์กร ความเสียหายระดับ คะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ มากกว่า 6 เดือน ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ มากกว่า 4.5 เดือน ถึง 6 เดือน ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ มากกว่า 3 เดือน ถึง 4.5 เดือน ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ มากกว่า 1.5 เดือน ถึง 3 เดือน ทำให้เกิดความล่าช้าของโครงการ ไม่เกิน 1.5 เดือน ตัวอย่าง

ผลกระทบต่อองค์กร ( ด้าน ชื่อเสียง ) ผลกระทบ ต่อองค์กร ความเสียหายระดับ คะแนน สูงมาก สูง ปานกลาง น้อย น้อยมาก มีการเผยแพร่ข่าวทั้งจากสื่อภายในและ ต่างประเทศเป็นวงกว้าง มีการเผยแพร่ข่าวเป็นวงกว้างในประเทศและ มีการแผยแพร่ข่าวอยู่ วงจำกัดในต่างประเทศ มีการลงข่าวในหนังสือพิมพ์ในประเทศหลาย ฉบับ 2-3 วัน มีการลงข่าวในหนังสือพิมพ์ในประเทศบาง ฉบับ 1 วัน ไม่มีการเผยแพร่ข่าว ตัวอย่าง

แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง RM 2 การประเมินความเสี่ยง โครงการ/กิจกรรม/กระบวนงาน ปัจจัยเสี่ยง 1 รายละเอียดความ สูญเสีย/ ผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้น 2 โอกาส/ความถี่ 3 ผลกระทบ/ความ รุนแรง 4 ระดับความเสี่ยง 3+4

การจัดลำดับความเสี่ยง รวมคะแนนระหว่างโอกาสที่จะเกิดกับ ความเสียหาย/ผลกระทบ เพื่อจัดลำดับ ความสำคัญ และใช้ในการตัดสินใจว่า ความเสี่ยงใดควรเร่งจัดการก่อน จัดทำแผนภูมิความเสี่ยงเพื่อให้ผู้บริหาร และคนในองค์กรได้เห็นภาพรวมว่าความ เสี่ยงมีการกระจายตัวอย่างไร

แผนภูมิความเสี่ยง ความเสี่ยงปานกลาง  ผลกระทบรุนแรงมาก  โอกาสเกิดน้อย ความเสี่ยงสูง  ผลกระทบรุนแรงมาก  โอกาสเกิดมาก ความเสี่ยงต่ำ  ผลกระทบน้อย  โอกาสเกิดน้อย ความเสี่ยงปานกลาง  ผลกระทบน้อย  โอกาสเกิดมาก โอกาสที่จะเกิด น้อยมาก ผ ล ก ระ ท บ มาก น้อย

แผนภูมิความเสี่ยง ต่ำ 1 กล าง ปา น 2 สูง 3 มา ก สูง 4 5 ผ ล ก ระ ท บ โอกาสที่จะเกิด

การจัดการความเสี่ยง การวิเคราะห์ถึงต้นทุนและประโยชน์ ที่จะได้รับภายใต้ทางเลือก การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง การถ่ายโอนความเสี่ยง การยอมรับความเสี่ยง การควบคุมความเสี่ยง

แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง RM 3 การจัดการความเสี่ยง โครงการ / กิจกรรม / กระบวนงาน ปัจจัยเสี่ยงวิธีจัดการความ เสี่ยง รายละเอียด การจัดการ ต้นทุนประโยชน์ที่ ได้รับ ทางเลือกที่ เหมาะสม หลีกเลี่ยง ยอมรับ ถ่ายโอน ควบคุม

แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง RM 4 แผนการจัดการความเสี่ยง โครงการ / กิจกรรม / กระบวนงาน ปัจจัย เสี่ยง กิจกรรมการควบคุม/จัดการ ความเสี่ยง ผู้รับผิดชอบกำหนดการดำเนินการ ม. ค. ก. พ มี. ค. เม. ย พ. ค มิ. ย. ก. ค. ส. ค ก. ย. ต. ค. พ. ย. ธ. ค.

การติดตาม รายงานและประเมินผล  การติดตาม ตรวจสอบว่ามีการ ดำเนินการตามแผนการจัดการ ความเสี่ยง  การวิเคราะห์ความเสี่ยงคงเหลือ  วิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงและ ประโยชน์ที่ได้รับจากการบริหาร ความเสี่ยง  สรุปผลการดำเนินงาน

แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง RM 5 การติดตามผลการจัดการความเสี่ยง รายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความเสี่ยง รายงานการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความเสี่ยง โครงการ ปัจจัยเสี่ยง วันที่ กิจกรรมกำหนดการ ดำเนินการ ผู้รับผิดชอบผลลัพธ์ของกิจกรรม% ความ คืบหน้า ปัญหา อุปสรรค และแนว ทางแก้ไข

แบบฟอร์มการบริหารความเสี่ยง RM 6 การประเมินและสรุปผลการบริหารความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยงความ เสียหายที่ อาจ เกิดขึ้น การจัดการโอกาสที่จะ เกิดหลัง จัดการ ความเสี่ยง ผลกระทบ/ ความ เสียหาย หลังจัดการ ความเสียง ระดับ ความ เสี่ยง คงเหลือ ผลจากการ ใช้ มาตรการ จัดการ ความเสี่ยง โครงการ / กิจกรรม / กระบวนงาน

การทบทวนการบริหารความเสี่ยง  การทบทวนระหว่างแผน  การทบทวนหลังเสร็จสิ้นแผน

ความเสี่ยง ก่อนจัดการ ความเสี่ยง ที่เหลือ ความเสี่ยง ที่ถูกจัดการ ความเสี่ยง ที่ยอมรับได้ การจัดการ หลังทบทวน ความเสี่ยง ที่ถูกจัดการ ระดับ ความเสี่ยง ที่ยอมรับ ได้ จัดการความเสี่ยงติดตามทบทวน การทบทวนการบริหารความเสี่ยง

ความเสี่ยงที่ กำหนด ยุทธศาสตร์ ผิดพลาด ความเสี่ยงที่ การดำเนินงาน จะไม่บรรลุ เป้าประสงค์ ความเสี่ยงที่ โครงการจะไม่ ประสบ ผลสำเร็จ ประเมิน โอกาสที่ จะเกิด และ ระดับ ความ รุนแรง ของ ความ เสี่ยง แนวทางในการตอบ สนองต่อความเสี่ยง วิสัยทัศน์ / พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด โครงการ ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ กับการบริหารความเสี่ยง