บทที่ 2 องค์ประกอบพื้นฐานของการวิจัย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถกำหนดปัญหาการวิจัยได้ 2. สามารถตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ 3. สามารถตั้งคำถามและสมมติฐานการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
การกำหนดปัญหาใน การวิจัย 1. แหล่งที่มาของปัญหา วิจัย 2. การวิเคราะห์ปัญหาวิจัย 3. การประเมินหัวข้อ ปัญหาที่จะทำวิจัย.
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
กระบวนการของการอธิบาย
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
16. การเขียนงานวิจัยแบบง่าย ๆ
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Seminar 1-3.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
การขอโครงการวิจัย.
SMS News Distribute Service
มาฝึกสมองกันครับ.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การใช้ชุดฝึกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาการอ่านออกเสียงเสียงท้าย - ts , st
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตภาคใต้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 องค์ประกอบพื้นฐานของการวิจัย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถกำหนดปัญหาการวิจัยได้ 2. สามารถตั้งวัตถุประสงค์ของการวิจัยได้ 3. สามารถตั้งคำถามและสมมติฐานการ วิจัยได้

ที่มาของปัญหาการวิจัย การกำหนดหัวข้อการวิจัย การเขียนประเด็นปัญหาการวิจัย การตั้งชื่อเรื่องในการวิจัย การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย วัตถุประสงค์กับประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การตั้งสมมติฐานและการตั้งคำถามการวิจัย เนื้อหา

หลักสำคัญในการเลือกเรื่อง สำหรับทำวิจัย 1.น่าสนใจหรือไม่ 2.เป็นเรื่องที่สำคัญ & มีประโยชน์คุ้มค่ากับการ ลงทุน 3.อยู่ในวิสัยที่สามารถทำวิจัยได้ - งบประมาณ - จริยธรรม - เวลา ฯลฯ 4. ความซ้ำซ้อนกับงานวิจัยที่ทำมาแล้ว

แหล่งของปัญหาการวิจัย * มองปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นประจำและหาแนวทาง ในการแก้ปัญหา Ex. “ทำไมผู้ป่วยส่วนใหญ่จึงบ่นว่าเหนื่อยง่าย หลังจากย้ายผู้ป่วยจากแผนกหัวใจมายังหอผู้ป่วย สามัญ?” 1.ประสบการณ์ * คิดถึงลักษณะงานที่ท่านปฏิบัติแล้วยังมีปัญหา หรือไม่ บรรลุวัตถุประสงค์ แล้วพยายามระบุปัญหา เพื่อหาคำตอบ Ex. “ ทำไมเวลาการให้ยาก่อนนอนจึงสับสน วุ่นวายมากในหอผู้ป่วยเด็ก”

แหล่งของปัญหาการวิจัย (ต่อ) * ค้นหาคำตอบที่มีเหตุผลทางวิทยาศาสตร์เพื่อใช้ ในงานวิจัยของท่าน Ex. “จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเวลาเยี่ยมของผู้ป่วยแผนก ไอซียู ได้เปลี่ยนจากอนุญาตให้เยี่ยมเพียงชั่วโมงละ 10 นาที เป็นเยี่ยมได้ตามเวลาเหมือนผู้ป่วยอื่นๆ” 2. วรรณกรรมทางการพยาบาล * หนังสือ * วารสารทางการพยาบาล * รายงานการวิจัยที่พิมพ์เผยแพร่

แหล่งของปัญหาการวิจัย (ต่อ) * การกำหนดหัวข้อวิจัยจากอาจารย์ ให้นักศึกษาเลือก * แหล่งทุนสนับสนุนการวิจัย 3. แนวคิดและทฤษฎีทางการพยาบาล 4. แนวคิดจากแหล่งข้อมูลภายนอก

ลักษณะปัญหาที่ควรทำวิจัย 1.เป็นปัญหาที่ไม่กว้างเกินไป 3. ปัญหานี้เป็นประโยชน์ด้านการนำไปใช้ และเพิ่มพูนศาสตร์ทางการพยาบาล 2. ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัย สามารถวัดได้เป็นรูปธรรม

ลักษณะปัญหาที่ควรทำวิจัย (ต่อ) สำคัญหรือไม่ มี ประโยชน์ต่อใคร นำไปสู่การปฏิบัติหรือไม่ ข้อค้นพบนั้นพัฒนาการพยาบาล ได้หรือไม่ มีผู้ให้คำตอบในเรื่องนั้นหรือไม่ ปัญหาที่นักวิจัยควรถามตนเอง

ลักษณะปัญหาที่ควรทำวิจัย (ต่อ) 4. เป็นปัญหาที่ผู้วิจัยสนใจ และมีความรู้ ในเรื่องนั้นๆ 6. มีความเป็นไปได้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล และนำผลการวิจัยที่ คาดว่าจะได้รับไปใช้ในทางปฏิบัติ 5. ปัญหาการวิจัยนั้นชี้นำไปสู่การ ตั้งสมมติฐานที่สามารถหาคำตอบได้

ตัวอย่างการเขียนความสำคัญ ของปัญหา หัวข้อ ศึกษาผลการพยาบาลอย่างมีแบบแผนต่อการ ลดความเครียดในผู้ป่วยที่จะรับการผ่าตัดช่องท้อง การเขียนความสำคัญ ต้องครอบคลุมเรื่องดังต่อไปนี้ 2. การต้องได้รับการผ่าตัด ก่อให้เกิดความเครียด เพิ่มขึ้นแก่ผู้ป่วยอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การผ่าตัดช่องท้อง 1.ความเจ็บป่วยก่อให้เกิดความเครียดแก่ผู้ป่วย อย่างไรบ้าง

ตัวอย่างการเขียนความสำคัญ ของปัญหา (ต่อ) 3. ความเครียดก่อให้เกิดผลเสียแก่ผู้ป่วย อย่างไร 6. วิจัยดังกล่าวจะเกิดประโยชน์อย่างไร 5. การให้การพยาบาลอย่างมีแบบแผนช่วย ในการลดความเครียดของผู้ป่วยได้อย่างไร 4. การลดความเครียดของผู้ป่วย ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างไร การเขียนความสำคัญ ต้องครอบคลุมเรื่อง ดังต่อไปนี้ (ต่อ)

หลักการเขียนความสำคัญ ของปัญหา 1.เขียนให้ตรงประเด็น เน้นปัญหาให้ถูกจุด 2.เขียนให้ครอบคลุมประเด็นที่สำคัญของปัญหา 3.อย่าเขียนความสำคัญของปัญหาให้สั้นหรือยาว เกินไป 4.อย่านำตัวเลขหรือตารางยาวๆ หรือข้อมูลที่ไม่ เกี่ยวข้องมา อ้างอิงมากเกินไป 5.ถ้านำผลงานวิจัย ตัวเลขข้อมูลหรือแนวคิดของผู้อื่น มาอ้างอิง ต้องเขียนอ้างอิงตามวิธีการอ้างอิงด้วย เสมอ

หลักการเขียนความสำคัญ ของปัญหา (ต่อ) 6. การเขียนในแต่ละหน้าต้องมีการแบ่ง ขั้นตอนให้เหมาะสม ไม่เขียนเต็มหน้าไปหมด หรือย่อหน้ามากเกินไป 7. เนื้อเรื่องมีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง 8. ในส่วนสุดท้ายของความสำคัญของปัญหา ต้องสรุปให้เชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ของ การวิจัย

การตั้งชื่อเรื่องในการทำ วิจัย 1.ควรสั้นและกระทัดรัดที่สุด แต่ให้ความหมาย มากที่สุด 4. อย่าให้ชื่อเรื่องที่ตั้งบิดพลิ้ว หรือเพี้ยนไป จากเนื้อหาสาระของการวิจัย 3. ควรใช้ภาษาและสำนวนที่คนทั่วไปสามารถ อ่านและเข้าใจได้โดยง่าย 2. ควรระบุให้ชื่อเรื่องด้วยว่า ทำอะไร ที่ไหน

การตั้งชื่อเรื่องในการทำ วิจัย (ต่อ) 5. ชื่อเรื่องที่ดีอย่างน้อยควรจะบอก 5.1 ตัวแปรที่ศึกษา 5.2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย 5.3 ลักษณะข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย 5.4 แนวทางการทำวิจัยจากชื่อเรื่อง จะสามารถบอกรูปแบบการทำวิจัยได้

การตั้งชื่อเรื่องในการ ทำวิจัย (ต่อ) 6. ไม่แสดงถึงการตัดสินด้านคุณภาพ เช่น “การขาดประสิทธิภาพของการพยาบาลใน โรงพยาบาล.... ในการให้สุขศึกษาแก่ผู้ป่วย”

ตัวอย่าง การตั้งชื่อเรื่อง ในการทำวิจัย 1.ภาพลักษณ์ของพยาบาลวิชาชีพ ตามการรับรู้ ของนักศึกษาพยาบาล ตัวแปรที่ศึกษาคือ ภาพลักษณ์ ประชากรหรือกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาล สถานที่ศึกษา เวลาที่ศึกษา

ตัวอย่าง การตั้งชื่อเรื่องใน การทำวิจัย (ต่อ) 2. ผลของการใช้เครื่องมือติดต่อสื่อสาร ที่มี ความวิตกกังวลของผู้ป่วยที่ใช้ท่อช่วยหายใจ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้น คือ การใช้เครื่องมือสื่อสาร ตัวแปรตาม คือ ความวิตกกังวล กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่ใช้ท่อช่วยหายใจ * วิจัยเชิงทดลอง

ตัวอย่าง การตั้งชื่อเรื่องใน การทำวิจัย (ต่อ) 3. พฤติกรรมความเป็นผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลชุมชนภาคใต้ 4. การควบคุมและป้องกันการติดเชื้อใน สถานเลี้ยงเด็กกลางวัน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง 5. พฤติกรรมของมารดาในการส่งเสริม พัฒนาการบุตรวัยทารก

ตัวอย่าง การตั้งชื่อเรื่องใน การทำวิจัย (ต่อ ) 6. ความสัมพันธ์ระหว่างอันดับการเลือกเรียน พยาบาล เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล ต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรต้นอันดับการเลือกเรียนพยาบาล เจตคติต่อวิชาชีพการพยาบาล ตัวแปรตามผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากชื่อ เป็นวิจัยของความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปร

การเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัย 1. เพื่อกำหนดประเด็นปัญหาของการวิจัย 2. เพื่อกำหนดแนวทางของการวิจัย 3. เพื่อกำหนดของเขตของการวิจัย หน้าที่ของวัตถุประสงค์การวิจัย

การเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัย (ต่อ) 1.ทำให้ปัญหาการวิจัยมีความชัดเจนยิ่งขึ้น รู้ขอบเขตและแนวทางปฏิบัติ 2.ทำให้การวิจัยมีเป้าหมายที่แน่นอน 3.ช่วยให้ทราบคุณสมบัติหรือตัวแปรที่ ศึกษา รู้ประชากรเป้าหมาย ประโยชน์ของการเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัยอย่างชัดเจน

การเขียนวัตถุประสงค์ การวิจัย (ต่อ) 1.เขียนวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน ศึกษาอะไร แง่มุมใด อยู่ในกรอบของการวิจัย 2.เขียนให้สั้น กะทัดรัด ใช้ภาษาที่ง่าย 3. เขียนในรูปประโยคบอกเล่า หรือประโยค คำถามก็ได้(ถ้าจำเป็น) หรือเขียนในรูปของ การเปรียบเทียบ เพื่อเน้นความแตกต่าง หรือ ความสัมพันธ์ หลักสำคัญของการเขียนวัตถุประสงค์

4. ห้ามเขียนรวมประเด็นไว้หลายๆ ประเด็นใน วัตถุประสงค์ข้อเดียว แต่ไม่ควรตั้งวัตถุประสงค์ ย่อยๆ มากเกินไป 5. วัตถุประสงค์ทุกข้อต้องสามารถศึกษาได้ 6. การเรียงหัวข้อวัตถุประสงค์ อาจเรียงตาม ความสำคัญของประเด็นปัญหา หรือ ระดับ ปัญหา ใหญ่ รองลงมา หรือเรียงตาม ความสอดคล้องของเนื้อหา หรือเรียงตามลำดับ การเกิดก่อน - หลังได้ การเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย (ต่อ)

7. ห้ามนำประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับมา เขียนในวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาด ว่าจะได้รับ เป็นเรื่องที่ผู้วิจัย จะต้องทำ เป็นผลที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นหลังจากสิ้นสุด การวิจัย

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ หลักการ 1.ระบุประโยชน์ที่อาจเกิดจากผลที่ได้จากการวิจัย 2.สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และอยู่ในขอบเขตของ วิจัยที่ได้ศึกษา 3.ถ้ามีประโยชน์มากกว่า 1 ประการ ควรระบุเป็นข้อ 4.เขียนด้วยข้อความสั้น กะทัดรัด ชัดเจน

ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับจากวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความ วิตกกังวลของผู้ป่วย มะเร็ง 2. เพื่อศึกษาผลของ การให้การพยาบาล อย่างมีแบบแผนต่อ ความวิตกกังวลของ ผู้ป่วยมะเร็ง 1. ได้รับความรู้ เกี่ยวกับความวิตก กังวลของผู้ป่วย มะเร็ง 2. ได้แนวทางในการ ลดความวิตกกังวล ของผู้ป่วยมะเร็ง ซึ่ง อาจจะพิจารณา นำไปใช้ในการ พยาบาลผู้ป่วย โรคมะเร็ง

ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับจากวัตถุประสงค์(ต่อ) 1. เพื่อสร้าง มาตรฐานการ พยาบาล ผู้ป่วยหมดสติ 1. ได้มาตรฐานการ พยาบาลผู้ป่วยหมด สติ ซึ่งสามารถ นำไปใช้เป็นแนวทาง ในการปฏิบัติการ พยาบาลเพื่อพัฒนา คุณภาพการดูแล ผู้ป่วยหมดสติต่อไป

ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับจากวัตถุประสงค์(ต่อ) 1. เพื่อศึกษาความเป็น ผู้คิดก้าวหน้าของ พยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาล เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ ระดับการศึกษา ตำ แหนงในการปฏิบัติงาน กับความเป็นผู้คิด ก้าวหน้าของพยาบาล วิชาชีพ 1. ได้ข้อมูลพื้นฐานของ ความเป็นผู้คิดก้าวหน้า ของพยาบาลวิชาชีพ ที่ สามารถนำมาพิจารณา วางแผนในการพัฒนา ความเป็นผุ้คิดก้าวหน้า ของพยาบาลวิชาชีพให้ ดีเพิ่มขึ้นต่อไป

ตัวอย่างการเขียนประโยชน์ที่คาดว่า จะได้รับจากวัตถุประสงค์(ต่อ) 3. เพื่อเปรียบเทียบ ความเป็นผู้คิด ก้าวหน้าของ พยาบาลวิชาชีพที่ ปฏิบัติงานในสังกัด งานการพยาบาลที่ แตกต่างกัน 2. เป็นข้อมูลพื้นฐาน สำหรับการศึกษา เกี่ยวกับความเป็น ผู้คิดก้าวหน้า รวมทั้ง เป็นแนวทางในการ ค้นคว้าวิจัยใน ประเด็นที่เกี่ยวข้อง ต่อไป

จุดอ่อนในการเขียนประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ระบุประโยชน์เกินขอบเขตที่ผลการวิจัยจะเอื้อให้ได้ เช่น วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาความวิตก กังวลของผู้ป่วยมะเร็ง 2. เพื่อศึกษาผลของการ ให้การพยาบาลอย่างมี แบบแผนต่อความวิตก กังวลของผู้ป่วยมะเร็ง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้แนวทางปฏิบัติการ พยาบาลในการลดความ วิตกกังวลของผู้ป่วย มะเร็ง 2. คุณภาพของการ พยาบาลผู้ป่วยมะเร็งจะดี ขึ้น

จุดอ่อนในการเขียนประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รับ (ต่อ) 2. ระบุประโยชน์ที่เกิดกับนักวิจัย เช่น วัตถุประสงค์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบวิธีการทำ วิจัยที่ถูกต้อง ได้เพิ่มพูนความรู้ในการ ทำวิจัย

หลักการเขียนคำถามการวิจัย 1.จะต้องมีความสอดคล้องและครอบคลุม ปัญหาการวิจัย 2.หากคำถามการวิจัยของงานวิจัยหนึ่งๆ มีหลายข้อ ให้เขียนแยกเป็นข้อๆ 3.เขียนเรียบเรียงในรูปประโยคคำถาม 4.เขียนด้วยสำนวนภาษาและถ้อยคำที่ กระชับ อ่านเข้าใจง่าย

สมมติฐาน (Hypothesis) ความหมาย การคาดการณ์หรืออธิบายปรากฎการณ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวหรือมากกว่า 2 ตัวขึ้นไป ว่ามีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกันอย่างไร ข้อความที่ระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (variables) หรือแนวคิด (concepts) ซึ่ง ผู้ทำการวิจัยต้องการจะทำการทดสอบว่าเป็นความ จริงหรือไม่

สมมติฐานการวิจัย สมมติฐาน เป็นการทำนายเกี่ยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัว หรือมากกว่าขึ้นไป(Polit and Beck, 2004)

สมมติฐาน (Hypothesis) แนวคิด การตั้งสมมติฐานการวิจัย เป็นการเปลี่ยนปัญหาวิจัยที่อยู่ในลักษณะ แนวความคิด เพื่อให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กันในรูปของ ตัวแปรที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น คือให้สามารถวัดได้ ทดสอบได้ การตั้งสมติฐานการวิจัยจึงเป็นขั้นตอน ที่ผู้วิจัยได้อ่านเอกสาร ตำราต่างๆ และงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง เพื่อจะได้ข้อมูลที่ดี ถูกต้องและมากพอ มาผสมกับประสบการณ์ และความรู้ของผู้วิจัยเอง เพื่อจะได้แนวคิดสำหรับสร้างสมมติฐานที่ดี และ เหมาะสมกับปัญหาที่ศึกษานั้น

จุดมุ่งหมายที่สำคัญในการตั้งสมมติฐาน คือ (ยุวดี ฦาชา, 2537) 1.เป็นการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีและ ข้อเท็จจริงที่สังเกตพบ 2.เป็นการขยายขอบเขตของความรู้ 3.ช่วยชี้ทิศทางของการทำวิจัยให้ชัดเจน ขึ้น

แหล่งที่มาของสมมติฐาน 1.จากศาสตร์ต่างๆ 2.จากผลของการวิจัยที่ผู้อื่นได้ ค้นพบไว้แล้ว 3.จากประสบการณ์ส่วนบุคคล 4.จากการเปรียบเทียบ (analogy) กับศาสตร์อื่น

ประโยชน์ของสมมติฐาน 1.ช่วยให้ผู้วิจัยมองเห็นปัญหาชัดเจนขึ้น 2.ช่วยกำหนดขอบเขตของการวิจัย 3. ช่วยให้ผู้วิจัยพิจารณาชนิดและตัวแปรที่สำคัญ ข้อมูลที่จะเก็บ ตลอดจนถึงชนิดของเครื่องมือที่ เหมาะสมในการวัด 4. เป็นกรอบของการดำเนินการวิจัยให้แคบเข้า 5. ช่วยให้นักวิจัยได้รับประโยชน์ต่อเนื่อง 6. ช่วยให้ผู้วิจัยสามารถแปลความหมายของข้อมูล ได้ชัดเจน 7. สามารถสร้างทฤษฎีใหม่ขึ้นได้ รวมทั้งเป็นการ ทดสอบทฤษฎีเก่า

ประเภทของสมมติฐาน 1.สมมติฐานการวิจัย (research hypothesis) 2. สมมติฐานทางสถิติ (statistical hypothesis) 2.1สมมติฐานศูนย์ (null hypothesis = H0 ) 2.2สมมติฐานเลือก (alternative hypothesis = H1 หรือ HA )

ข้อควรคำนึงถึงการกำหนดสมมติฐาน 1.การกำหนดสมมติฐานนั้นมีความชัดเจนและ ครอบคลุมตัวแปรที่ศึกษาหรือไม่ 2.สมมติฐานมีความสอดคล้องกับข้อเท็จจริง หรือ สอดคล้องกับหลักการหรือทฤษฎีที่มี มากน้อยเพียงใด 3.สมมติฐานนั้นสามารถทดสอบได้หรือไม่ และมี เหตุผลมาสนับสนุนหรือไม่ 4.สมมติฐานที่กำหนดจะช่วยทำนายข้อเท็จจริง และ ความสัมพันธ์ที่ไม่ทราบมาก่อนมาก น้อยเพียงใด

ข้อสงสัย???