การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club
การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน
เราจะจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้อง กับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึง ความแตกต่าง ระหว่างบุคคล ได้อย่างไร ? ชุมนุม C ชุมนุม A ชุมนุม B ชุมนุม D ชุมนุม E
ควรตั้งชุมนุมอะไร กลุ่มสาระทั้ง ๘ ครอบคลุม สาระความรู้ที่มนุษย์จำเป็นต้องรู้ ดึงออกมาปรับสร้างเสริมเติมต่อ ให้เป็นชุมนุมต่างๆได้
สิ่งมีชีวิต นกตีทอง กบน้อย กล้วยไม้ป่า วัชพืช แมง๘ขา ผีเสื้อกลางคืน คนรักแมว กรณีที่ต้องการความหลากหลายให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน
ดาราศาสตร์ ดาวหาง ดาวเคราะห์น้อย ระบบสุริยะ ดวงจันทร์ ยานสำรวจ กาแลคซี กรณีที่ต้องการความหลากหลายให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน
รีไซเคิล : Recycle รียูส : Re-use รีแพร์ : Repair รีดิวซ : Reduce ชุมนุมสิ่งแวดล้อม กรณีที่ต้องการความหลากหลายให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน
รายชื่อชุมนุมรูปแบบของสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ นักเคมีฯ นักฟิสิกส์ นักอุตุนิยมวิทยาฯ นักธรณีวิทยาฯ นักดาราศาสตร์ฯ นักสัตววิทยาฯ นักพฤกษศาสตร์ฯ นักกีฏวิทยาฯ นักสิ่งแวดล้อมฯ นักนิเวศวิทยาฯ
การตั้งชุมนุมควรมาจากใคร ครู ? หรือ นักเรียน ? ครูสร้างสถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ครูสร้างสถานการณ์ สิ่งแวดล้อม ให้นักเรียนได้ สัมผัส – ห้องสมุด + ครูวิทย์ ให้นักเรียนได้ สัมผัส – ห้องสมุด + ครูวิทย์ ครูชักนำให้รวมกลุ่ม ครูชักนำให้รวมกลุ่ม ครูแนะนำกิจกรรม ครูแนะนำกิจกรรม ครูช่วยแก้ปัญหาการทำกิจกรรม ครูช่วยแก้ปัญหาการทำกิจกรรม ครูส่งเสริมให้กำลังใจ นำออกแสดง – โรงเรียน ครูส่งเสริมให้กำลังใจ นำออกแสดง – โรงเรียน – เขตฯ – จังหวัด – ภาคฯ – เขตฯ – จังหวัด – ภาคฯ
กระบวนการจากกิจกรรมใน ชุมนุม การเรียนรู้นอกห้องเรียน การเรียนรู้นอกห้องเรียน กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process) กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry process) กระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Process) กระบวนการแก้ปัญหา (Problem Solving Process) กิจกรรมคิด - ปฏิบัติ กิจกรรมคิด - ปฏิบัติ (Hands-on / Mind - on Activities) (Hands-on / Mind - on Activities) การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ ( Cooperative Learning ) ( Cooperative Learning ) การเรียนรู้จากโครงงาน ( Project Based Learning) การเรียนรู้จากโครงงาน ( Project Based Learning)
ตัวอย่างกิจกรรม ดูในเอกสารของชุมนุมวิทยาศาสตรฯ ที่แจก
การประเมินผลภาคปฎิบัตของ สมาชิกชุมนุม ( หากมี ) กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะปฎิบัติ ความเข้าใจหลักการ ทักษะการสื่อสาร ทำงานร่วมกับผู้อื่น ความสามารถในการเชื่อมโยง / บูรณาการ
การจัดการในโรงเรียน ? ชุมนุมควรมีสมาชิกสักเท่าใด นักเรียนเป็นสมาชิกได้กี่ชุมนุม ครูทุกคนควรมีส่วนร่วมเป็นที่ปรึกษาหรือไม่ การเป็นสมาชิกจะหมุนเวียนหรือตายตัว สถานที่ของชุมนุมจะใช้ที่ใด เกณฑ์สนับสนุนงบประมาณควรเป็นอย่างไร การเข้าร่วมกิจกรรมควรมีสัปดาห์ละกี่ครั้ง
ใช้ทรัพยากรที่มีเป็นตัวตั้ง จำนวนครู ขนาดความจุของชั้นเรียน แหล่งเรียนรู้ ( ห้องสมุด / สนาม / ซุ้มต้นไม้ )
การเชื่อมโยงกับหน่วยงานอื่น ชุมนุมวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ มีการจัดประกวดกิจกรรมชุมนุมนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ เครือซิเมนต์ไทย ในช่วงสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประธานของชุมนุมฯ คือ รศ. ดร. ณสรรค์ ผลโภค ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
เงื่อนไขของความสำเร็จ ความตั้งใจของครู ความตั้งใจของครู แนวปฏิบัติของฝ่ายบริหารในการ แนวปฏิบัติของฝ่ายบริหารในการ - ส่งเสริม - ส่งเสริม - ติดตามผล - ติดตามผล - ประเมินเพื่อใช้ประโยชน์ - ประเมินเพื่อใช้ประโยชน์