แนวทางการตรวจราชการและ นิเทศงาน ปีงบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 8.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
หน่วยรับตรวจส่วนงานย่อย สพฐ. สพป. / สพม. โรงเรียน สำนัก กลุ่ม / หน่วย กลุ่ม / งาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดหน่วยรับตรวจ และส่วนงานย่อย.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การนิเทศจังหวัด รอบ 2 ปี 2561
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน
ระบบรายงานข้อมูลตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการตรวจราชการและ นิเทศงาน ปีงบประมาณ 2559 เขตสุขภาพที่ 8

1.วัตถุประสงค์ 2.วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน 3.กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงาน 4.การรายงานผลการตรวจราชการกรณีปกติ 5.การตรวจราชการแบบบูรณาการ

1.ตรวจดูการบริหารงานให้เป็นไปตามความคาดหวังของ นโยบายรัฐบาล แผนบูรณาการประเทศ นโยบาย รมว.สธ แผนบูรณาการกระทรวง 1.1 งานตามยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบายรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุข, ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.2 งานที่จังหวัดวิเคราะห์เห็นว่ามีปัญหาและต้องการพัฒนา 1.3 งานที่ต้องการแก้ปัญหาแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข และพัฒนาให้งานยั่งยืน โดยมีประสิทธิผลประสิทธิภาพมากขึ้น 1.4 งานที่คาดว่าจะเกิดปัญหาในอนาคต คาดการณ์ ป้องกัน ปัญหาอันอาจจะเกิดได้

2. นิเทศงาน (Supervision) 2.1 แนะนำ Technique,วิชาการแต่ละเรื่องให้ได้ตาม ข้อ เป็นตัวกลางเพื่อหาผู้รู้นอกคณะนิเทศงานมาช่วย จังหวัด,เขต เพื่อให้งานได้ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจ ราชการในข้อ การจัดการเรียนรู้ ของบุคลากรในเขต,นอกเขต เพื่อพัฒนาเป็น Knowledge Organization 2.4 ขวัญกำลังใจและ Empowerment บุคลากรเพื่อ Monitor งานและเสนอแก้ไขเชิงบริหาร

การตรวจราชการ ปี ภารกิจ 5 ด้าน 22 หัวข้อ ด้านที่1 การพัฒนาสุขภาพ ตามกลุ่มวัย ด้านที่2 การพัฒนาระบบ บริการ ด้านที่3 การพัฒนาระบบ บริหารจัดการ ด้านที่4 การคุ้มครอง ผู้บริโภค ด้านที่ 5 การตรวจบูรณาการ 1 การพัฒนา สุขภาพกลุ่มวัย 2 ระบบควบคุม ป้องกันโรค 3 ระบบบริการ ปฐมภูมิ 4 ระบบบริการ ทุติยภูมิและ ตติยภูมิ 5 การบริหาร การเงินการคลัง 6 การบริหารยา และเวชภัณฑ์ 7 การพัฒนา บุคลากร 8 ธรรมาภิบาล 9 ระบบคุ้มครอง ผู้บริโภคด้าน บริการ อาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 10 ระบบ คุ้มครอง ผู้บริโภคด้าน สิ่งแวดล้อม 11 การตรวจ ราชการแบบบูร ราการฯ 2 หัวข้อ 12 หัวข้อ 4 หัวข้อ 2 หัวข้อ นโยบายรัฐบาล แผนบูรณาการ ประเทศ นโยบาย รมว. สธ แผนบูรณาการ กระทรวง การกำจัดขยะ มูลฝอย มาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจ ( เฉพาะพท. จ. สุราษำร์ธานี ) กรม / สำนัก ที่ เกี่ยวข้อง

รูปแบบที่ 1 รูปแบบที่ 2 รูปแบบที่ 3 สัมพันธ์กับการประเมินตาม KPI ตรวจติดตามนโยบายสำคัญตรวจสอบ (Audit) เฉพาะเรื่อง ลักษณะตรวจติดตามงานที่ไม่บรรลุเป้าหมาย 1) ตรวจติดตามเรื่องที่เป็นที่สนใจในการขับเคลื่อน นโยบายของผู้บริหาร 2) ตรวจจุด / ประเด็นที่เป็นความเสี่ยง (Key Risk Area : KRA) ที่จะเป็นอุปสรรค หรือที่จะทำให้ การขับเคลื่อนนโยบายไม่ประสบความสำเร็จ เพื่อวินิจฉัยปัญหา ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ให้คำแนะนำต่อหน่วยรับตรวจ และ ให้ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อผู้บริหารใน ส่วนกลาง 3) ตรวจติดตามเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่ 1. ตรวจสอบตามธรรมาภิบาล เช่น ตรวจสอบภายใน การบริหารยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา 2. ตรวจสอบการเตรียมความพร้อมรับ การเกิดโรค อุบัติใหม่ / อุบัติภัย 3. ตรวจสอบการบริหารการเงินการคลัง ในหน่วย บริการที่ประสบวิกฤติทางการเงิน เครื่องมือผลการประเมิน KPI ที่ไม่บรรลุเป้าหมาย Inspection Guide line ระเบียบ กฎหมาย ระยะเวลา รายเดือน รายไตรมาส ตามลักษณะของ KPI 2 รอบต่อปี ตามแผนการตรวจสอบของหน่วยงานที่ รับผิดชอบ ความ สัมพันธ์ นำผลการตรวจประเมินและนิเทศงาน รายงานต่อผู้ตรวจราชการเพื่อพิจารณา เป็นประเด็นนำเข้าการตรวจราชการใน รอบปกติ พิจารณาผลจากการตรวจติดตามงานที่ไม่บรรลุ เป้าหมาย และ ผลการตรวจสอบตามประเด็นเฉพาะ กิจ / เฉพาะเรื่อง เข้าร่วมการตรวจราชการในรอบปกติ นำผลการตรวจประเมิน / เฉพาะกิจ รายงานต่อผู้ตรวจราชการเพื่อทราบและ พิจารณาเป็นประเด็นนำเข้าร่วมการตรวจ ราชการในรอบปกติ รูปแบบการตรวจราชการ

รอบที่ 1 เดือนมกราคม ถึง มีนาคม 2559 เป็นการตรวจเพื่อวัตถุประสงค์ 1. ตรวจราชการดูการบริหารจัดการในระดับจังหวัดว่าจัดการ อย่างไร มีระบบการขับเคลื่อนกระบวนงานลงสู่การปฏิบัติอย่างไร บริหารจัดการองค์กรอย่างไร และมี ภาวะผู้นำในการจัดการอย่างไร เพื่อให้แน่ใจและวางใจได้ว่าปลายปีงานของจังหวัดจะได้บรรลุตาม เป้าหมายของการตรวจราชการ โดยใช้แผนยุทธศาสตร์ระดับ จังหวัด และอำเภอ ครอบคลุมถึงขบวนการได้มาของแผนงาน ทรัพยากรที่จะใช้ แผนวิธีการนำไปปฏิบัติ การกำกับอย่างไร ประเมินผลอย่างไร

2. ตรวจเยี่ยมคปสอ. รวมทั้ง รพสต. ดูกระบวนการนำนโยบาย ไปสู่การปฏิบัติ ในการรับช่วง และวางแผนการบริหารงานระดับ อำเภออย่างไร มีการวางเป้าหมายงานและวิธีการกำกับงาน การ แก้ไขปัญหางานการประเมินผลอย่างใด ทั้งในส่วนของ รพช.,รพ สต อย่างไร 3. ดูตัวอย่างจังหวัดละ 1 อำเภอ โดยรอบที่1 ไม่เน้นดูผลงาน ตามตัวชี้วัด แต่จะดูวิธีการแปลงเป็นการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมได้ อย่างไร รอบที่ 2 มิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2559 เป็นการตรวจเพื่อดูความก้าวหน้าของงาน และขบวนการ แก้ปัญหาโดยจะดูผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดด้วย

การตรวจราชการกรณีพิเศษ จะกำหนดเสริมในบางจังหวัด หรือบางอำเภอ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการติดตามกรณี ใด กรณีหนึ่งหรือหลายกรณีรวมกันดังนี้ 1. มีปัญหาไม่ก้าวหน้าของงานที่เป็นนโยบาย 2. มีปัญหาในเชิงการบริหารที่คาดว่าจะมีปัญหาในอนาคตและ เพื่อการป้องกันปัญหาที่จะเกิดในอนาคต 3. ปรากฏชื่อเสียงทั้งด้านดีหรือไม่ดีต่อสาธารณชนอย่าง กว้างขวาง 4. เป็นตัวอย่างในการพัฒนาเพื่อให้เป็นต้นแบบในระดับเขตหรือ ระดับชาติต่อไป 5. จังหวัดร้องขอ

แหล่งหรือ คลังข้อมู ลของ กรม / สำนัก แหล่งข้อ มูลอื่นๆ Data Center เขต 8 ระบบ ข้อมูล สนย. แหล่งหรือ คลังข้อมู ลของ กรม / สำนัก คลังข้อมูล เพื่อการ ตรวจ ราชการ และการ กำกับ ติดตาม ข้อมูล / รายงาน จากการ ตรวจ ติดตาม ทีมตรวจ ราชการ link link link link link INPUT

ระบบข้อมูลสนับสนุนการตรวจราชการ กรม/สำนัก/สตป./สำนักงานเขตสุขภาพที่8 1. เว็บไซต์สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เว็บไซต์ สำนักตรวจและประเมินผล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 2. COCKPITสำนักงานเขตสุขภาพที่ 8 3. รายชื่อผู้ประสานงานหลักของแต่ละจังหวัดที่จะสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวก 4. เอกสาร/ไฟล์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตรวจราชการของผู้ทรงคุณวุฒิใช้เป็น เอกสารอ้างอิงในการให้ข้อเสนอแนะกับพื้นที่ ช่องทางที่ผู้ตรวจราชการและนิเทศงานสามารถเข้าถึงข้อมูลจาก

จังหวัด กำหนดการตรวจราชการฯ กรณีปกติ และบูรณาการ หมายเหตุ รอบที่ 1 รอบที่ 2 อุดรธานี มกราคม มิถุนายน 2559 กำหนดการ อาจมีการ เปลี่ยนแปล งตามความ เหมาะสม หนองคาย มกราคม มิถุนายน 2559 เลย3 - 5 กุมภาพันธ์ มิถุนายน 2559 นครพนม กุมภาพันธ์ มิถุนายน 2559 บึงกาฬ2 - 4 มีนาคม กรกฎาคม 2559 สกลนคร มีนาคม กรกฎาคม 2559 หนองบัวลำภู มีนาคม กรกฎาคม 2559

กำหนดการประชุมสรุปผลการ ตรวจราชการและ นิเทศงาน เขตสุขภาพที่ 8 ประจำปี 2559 รอบที่ 1 วันที่ 22 เมษายน 2559 รอบที่ 2 วันที่ 26 สิงหาคม 2558 หมายเหตุ : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลง ตามความเหมาะสม

รายละเอียดกำหนดการตรวจ ราชการและนิเทศงาน วันที่ 1 ของกำหนดการ คณะตรวจราชการและผู้นิเทศงาน เข้า นิเทศงาน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูล ในส่วนที่รับผิดชอบ แยกรายคณะ 5 คณะ ในหน่วยรับการตรวจราชการและ นิเทศงาน ณ สสจ./รพศ./รพท.

วันที่ 2 ของกำหนดการ ช่วงเช้า รับฟังสรุปการผลดำเนินงานภาพรวมของ พื้นที่ และตรวจเยี่ยมโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไปในพื้นที่ 1 แห่ง ( ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย นพ.สสจ./ผอ.รพศ./ผอ.รพท./ผชช.ว./ผชช.ส./รอง ผอ.รพศ., รพท./หัวหน้ากลุ่มงาน ของสสจ.และรพ ศ. รพท. ผู้รับผิดชอบงานตรวจราชการและนิเทศงาน) ช่วงบ่าย สำหรับทีมผู้ตรวจราชการ ตรวจเยี่ยมพื้นที่ แบ่ง ออกเป็น 2 ทีม 1. ทีมผู้ตรวจราชการ เป็นประธาน 2. ทีมสาธารณสุขนิเทศก์ เป็นประธาน

- ลงตรวจเยี่ยม คปสอ. 1 แห่ง (เยี่ยม รพช. 1 แห่ง และ รพ.สต. 1 แห่ง) -คปสอ. บรรยายสรุปผลการดำเนินงาน แนวทางการ พัฒนา และปัญหาอุปสรรค ให้ทีมตรวจราชการรับฟัง ทีมตรวจราชการให้ข้อเสนอแนะ การลงพื้นที่ -ผู้นิเทศงานแต่ละคณะ นิเทศงานในส่วนที่ รับผิดชอบในฝ่ายต่างๆของ สสจ. ใน รพศ./รพท. วันที่ 1 และบ่ายวันที่ 2 (สำหรับผู้ตรวจราชการ กรม/นิเทศงาน ที่ยังวิเคราะห์ข้อมูลไม่เสร็จ) - ใน คปสอ. ระดับอำเภอ และ รพ.สต. ทีมตรวจ ราชการฯส่วนผู้ตรวจราชการกรม/ผู้นิเทศหากเก็บ ข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้ร่วมคณะตรวจเยี่ยมด้วย

วันที่ ๓ ของกำหนดการ ช่วงเช้า - ประชุมทีมตรวจราชการและผู้นิเทศงาน คณะต่างๆ เพื่อสรุปประเด็นสำคัญและข้อเสนอแนะที่ สำคัญที่พบจากการตรวจราชการและนิเทศงาน เสนอ ผู้ตรวจราชการและสาธารณสุขนิเทศก์รับทราบ ก่อน การสรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงานและให้ ข้อเสนอแนะจังหวัด ( ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย นพ.สสจ./ผอ.รพศ./ผอ.รพท./ผชช.ว./ผชช.ส./รอง ผอ.รพศ., รพท./หัวหน้ากลุ่มงาน ของสสจ.และรพศ. รพท. /ผอ.รพช./สสอ./ผอ.ศูนย์วิชาการในเขต8/ผอ.ว พบ.ผู้รับผิดชอบงานตรวจราชการและนิเทศงาน)

ทีมตรวจราชการเขต -จัดทำรายงาน -สรุปภาพรวมรายเขต สาธารณสุขนิเทศก์ หัวหน้ากลุ่มตรวจเขต สตป. -รวบรวมรายงาน -สรุปภาพรวมรายเขต -จัดทำ Executive summery -แจ้งต่อหน่วยรับตรวจ, CEO, ปลัดกระทรวง คณะกรรมการกำหนดแผนและ ติดตามผลการตรวจราชการ (คตก.) ให้ความเห็น กลั่นกรอง การสรุปภาพรวมระดับประเทศรายคณะ กองแผนงาน ของกรมและสำนัก สป. -รวบรวมรายงานตามภารกิจ -สรุปรายงานเสนอผู้บริหารกรม/ สำนัก สตป. -รวบรวมรายงาน -วิเคราะห์/สังเคราะห์ รายงาน สตป. -รายงานรายไตรมาส Semi-annual Report, Annual Report - เสนอผู้บริหาร - เผยแพร่

ตามแบบรายงาน ตก. 1, ตก. 2 และ ตก. 3 ดังนี้ 1. สรุปรายงานผลการตรวจราชการและนิเทศงาน ประเด็น ข้อเสนอแนะรายจังหวัด ตามแบบรายงาน ตก. 1 โดยผู้ตรวจกรม/ ผู้นิเทศงาน ส่งให้หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขต (ผู้นิเทศจัดทำ รายงาน (ตก.1) สรุปผลการตรวจราชการนิเทศงานภายในช่วงเวลา ตอนเย็นของวันที่ตรวจราชการวันที่ 2 และเตรียมการเสนอในวันรุ่งขึ้น และส่งตก.1 วันที่เสร็จสิ้นการตรวจราชการจังหวัดนั้นๆ) 2.รายงานผลการตรวจราชการและนิเทศงานรายเขต ตาม แบบรายงาน ตก. 2 โดยผู้ตรวจกรม/ผู้นิเทศงาน จัดทำรายงาน สรุปภาพรวมเขตสุขภาพที่ 8 ในเรื่องที่รับผิดชอบ ส่งให้ประธาน คณะ เพื่อจัดทำรายงานบทสรุปผู้บริหารภาพรวมคณะ(Executive summery)ส่งให้หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 8 ภายใน 15 วันทำการ หลังเสร็จสิ้นการตรวจราชการครบทั้ง 7 จังหวัด

3. รายงานข้อเสนอแนะ ข้อสั่งการของผู้ตรวจราชการ กระทรวง (ตก3)ให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินการตามข้อสั่ง การ/เสนอแนะ ส่งให้หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขตเพื่อเสนอให้ ผู้ตรวจราชการกระทรวงพิจารณา ตามกำหนดดังนี้ รอบที่ 1 ภายในวันที่ 1 เมษายน 2559 รอบที่ 2 ภายในวันที่ 5 สิงหาคม 2559 จังหวัด เป็น ผู้ดำเนิน การ

ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกระทรวงสาธารณสุขการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งแวดล้อม 1. การจัดทำแผน มาตรฐาน มาตรการ เกณฑ์การ ปฏิบัติ กฎหมาย : แผนงานบริหารจัดการขยะและ สิ่งแวดล้อม 2. การเพิ่มศักยภาพการเก็บและกำจัด 1) โครงการพัฒนาระบบการจัดการขยะให้ถูก สุขลักษณะ 2) โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการขยะติดเชื้อและ ของเสียทางการแพทย์ให้ถูกสุขลักษณะ 3) โครงการส่งเสริมการจัดการน้ำเสียให้ถูก สุขลักษณะเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ 4) โครงการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่ วิกฤติด้านมลพิษอากาศ 3. การเสริมสร้างศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้ 1) โครงการสนับสนุนบริหารจัดการขยะและ สิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล

ประเด็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล : มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ โครงการอนุรักษ์ภูมิปัญญาพื้นบ้านด้วยการส่งเสริมใช้สมุนไพร ในครัวเรือน และการแปรรูปสมุนไพร (เฉพาะพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี)

กำหนดการในปี 2559 ออกตรวจราชการพร้อมกรณีปกติ รอบที่ 1 (Project and progress Review) 1.ออกตรวจราชการพร้อมกับการตรวจราชการกรณีปกติ(คณะที่ 5) ในแต่ละ จังหวัด และรายงานข้อเสนอแนะตามแบบ PPR2 ให้จังหวัดและหัวหน้ากลุ่ม ตรวจราชการเขตหลังจากเสร็จสิ้นการตรวจราชการในจังหวัดนั้นๆ 2.รายงานผลตามแบบรายงานรายรอบ รายโครงการ SeAR (Semi Annaul Report) หลังเสร็จสิ้นการตรวจราชการครบ 7 จังหวัดแล้วส่งให้ผู้รับผิดชอบงาน โครงการระดับกรม ภายในวันที่ 31 มีนาคม ติดตามผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ ตามแบบPPR2 จากหน่วยรับตรวจ ส่งให้หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขต ภายในวันที่ 30 เมษายน 2559

กำหนดการในปี 2559 ออกตรวจราชการพร้อมกรณีปกติ รอบที่ 2 (Monitoring and Evaluation) 1.เพื่อประเมินผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะที่ให้ไว้ ในรอบที่ 1 2.ออกตรวจราชการในเดือนมิถุนายน-สิงหาคม 2559 พร้อมกรณีปกติ ของการตรวจราชการแต่ละจังหวัด 3. รายงานผลตามแบบรายงาน AIR (Annaul Inspection Report) ส่งให้ผู้รับผิดชอบโครงการระดับ กรมภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2559

1) หน่วยรับตรวจ (จังหวัด) ประเมินตนเองตามแบบฟอร์ม PPR1 แล้วส่งให้สำนักตรวจฯรวบรวมส่งให้ผู้นิเทศงานเขต (เป็นการตรวจรอบที่ 1 Project Review) ตามกำหนด 2) ผู้นิเทศงานเขต ใช้แบบ PPR1 ที่หน่วยรับตรวจประเมิน ตนเอง เพื่อติดตามความก้าวหน้า และตรวจสอบผลการ จัดการความเสี่ยงของหน่วยรับตรวจในพื้นที่ และจัดทำ รายงานการตรวจราชการแบบบูรณาการ

นโยบายการตรวจราชการแบบูรณาการ ของสำนักนายกรัฐมนตรี -ตรวจราชการร่วมกันเขตตรวจราชการละ 2 จังหวัด ของแต่ละรอบการตรวจราชการ (รอกำหนดการจากสำนักนายกรัฐมนตรี)

ขอบคุณและ สวัสดีค่ะ