งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน
เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2560 “ร้อยแก่นสารสินธุ์” วันที่ 23 ธันวาคม 2559 ณ ห้องประชุมจำลองมุ่งการดี รพ.ขอนแก่น

2

3 แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน เขตสุขภาพที่ 7
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน เขตสุขภาพที่ 7 วัตถุประสงค์ของการตรวจราชการและนิเทศงาน วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงาน แนวทางการนำเสนอในการตรวจราชการฯ การรายงานผลการตรวจราชการกรณีปกติ การตรวจราชการแบบบูรณาการ

4 วัตถุประสงค์การตรวจราชการ
1. การตรวจราชการ INSPECTION เป็นการตรวจดูการบริหารงานให้เป็นไปตามความคาดหวังของรัฐบาล 1.1 งานตามนโยบาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข, ปลัดกระทรวงสาธารณสุข 1.2 งานที่จังหวัดวิเคราะห์เห็นว่ามีปัญหาและต้องการพัฒนา 1.3 งานที่ผู้ตรวจราชการและคณะเห็นว่าควรทำให้ได้ผลตามนโยบาย 1.4 งานที่ต้องการแก้ปัญหาแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุขและพัฒนาให้งานยั่งยืน โดยมีประสิทธิผลประสิทธิภาพมากขึ้น 1.5 งานที่คาดว่าจะเกิดปัญหาในอนาคต คาดการณ์ ป้องกันปัญหาอันอาจจะเกิดได้

5 2. นิเทศงาน (Supervision)
2.1 แนะนำ Technique,วิชาการแต่ละเรื่องให้ได้ตาม วัตถุประสงค์ของการตรวจราชการ 2.2 เป็นตัวกลางเพื่อหาผู้รู้นอกคณะนิเทศงานมาช่วย จังหวัด,เขต เพื่อให้งานได้ตามวัตถุประสงค์ของการตรวจ ราชการ 2.3 การจัดการเรียนรู้ ของบุคลากรในเขต,นอกเขต เพื่อพัฒนาเป็น Knowledge Organization 2.4 ขวัญกำลังใจและ Empowerment บุคลากรเพื่อ Monitor งานและเสนอแก้ไขเชิงบริหาร

6 วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน
1.การตรวจราชการกรณีปกติ รอบที่ 1 เดือนมกราคม ถึง มีนาคม 2560 เป็นการตรวจเพื่อวัตถุประสงค์ 1. ดูการบริหารจัดการเพื่อสอบทานความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาล(วิเคราะห์ปัญหา/การจัดทำแผนยุทธศาสตร์/การตรวจสอบภายใน) จังหวัดมีระบบ Deployment ลงสู่ระดับล่างอย่างไร โดยใช้แผนระดับจังหวัดและอำเภอ ครอบคลุมถึงขบวนการได้มาของแผน ทรัพยากรที่จะใช้ วิธีการ Implementation การกำกับติดตาม ประเมินผลอย่างไร และติดตามความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค ให้ข้อเสนอแนะเพื่อหน่วยรับตรวจนำไปปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานให้เกิดเป็นรูปธรรม

7 วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน
2. ดูตัวอย่างของ คปสอ. 1 อำเภอ รวมทั้ง รพสต. ในการรับช่วงต่อ และวางแผนการบริหารงานระดับอำเภออย่างไร มีการวางเป้าหมายงานและวิธีการกำกับงาน การแก้ไขปัญหางานการและมีการกำกับติดตามประเมินผล ทั้งในส่วนของ รพช., รพสต อย่างไร 3. โดยรอบที่ 1 ไม่เน้นดูผลงานตามตัวชี้วัด แต่จะดูวิธีการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมได้อย่างไร

8 วิธีการตรวจราชการและนิเทศงาน
รอบที่ 2 มิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2560 วัตถุประสงค์ เป็นการตรวจติดตามประมินผลตามประเด็นการ ตรวจราชการเพื่อดูความก้าวหน้าของงาน และการ ดำเนินการตามข้อสั่งการและข้อเสนอแนะจากการ ตรวจราชการ รอบที่ 1 รวมทั้งขบวนการแก้ปัญหา โดยจะดูผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและประมวล สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อผู้บริหาร

9 2.การตรวจราชการแบบบูรณาการ
กำหนดการในปี 2560 ออกพร้อมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ครั้งที่ 1 ออกตรวจราชการภายในเดือนกุมภาพันธ์ และรายงานผลตามแบบรายงาน ส่งให้ผู้รับผิดชอบงาน ตรวจราชการแบบบูรณาการ สำนักตรวจและประเมินผล ภายในวันที่ 17 มีนาคม 2560 ครั้งที่ 2 ออกตรวจราชการภายในเดือนกรกฎาคม และรายงานผลตามแบบรายงาน ส่งให้ผู้รับผิดชอบงาน ตรวจราชการแบบบูรณาการ สำนักตรวจและประเมินผล ภายในวันที่ 14 สิงหาคม 2560

10 การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี ปี 2560
1. การบริหารจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม 2. การป้องกันและ ลดอุบัติเหตุทางถนน ตรวจติดตาม รอบที่ 2 ตรวจติดตาม รอบที่ 1 และ 2

11 วิธีการตรวจติดตามของสำนักนายกรัฐมนตรี
กำหนดการ สำนักนายกรัฐมนตรี (เขต 1-18) จะประสานแจ้งกำหนดการตรวจราชการแบบบูรณาการ มาที่ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1-12 เป้าหมาย ผู้ตรวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรี และผู้ตรวจราชการกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ตรวจติดตามร่วมกันในพื้นที่ อย่างน้อย เขตละ 2 จังหวัด (เขต 1-18) รอบที่ 1 : กุมภาพันธ์ – มีนาคม รอบที่ 2 : สิงหาคม – กันยายน 2560 รายงานผลการตรวจ กระทรวงสาธารณสุข รายงานผลการตรวจราชการ ครั้งที่ 1 : ภายในวันที่ 31 มีนาคม ครั้งที่ 2 : ภายในวันที่ 30 กันยายน 2560 สำนักนายกรัฐมนตรี จัดทำรายงานผลการตรวจราชการ แบบบูรณาการภาพรวมประเทศ เสนอนายกรัฐมนตรี หมายเหตุ กรณีผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ติดภารกิจอาจมอบหมายให้ สาธารณสุขนิเทศก์/ ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการ เขตสุขภาพที่ 1-12 ร่วมตรวจ

12 การจัดทำ Project Paper Review (PPR1) ไตรมาสที่ 1
1. มีรายงานผลการดำเนินงานส่ง สำนักนายกรัฐมนตรี รอบที่ 1 : 31 มีค. 60 รอบที่ 2 : 30 กย. 60 2. มีข้อมูลให้ ผตร.เขตสุขภาพที่ 1-12 (76 จังหวัด) ลงตรวจร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี หมายเหตุ ให้ สสจ. 76 จังหวัด จัดทำแบบสอบทานแนวทางการดำเนินการของจังหวัด (PPR1) ส่งสำนักตรวจและประเมินผล : ภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2559

13 3.การตรวจราชการกรณีพิเศษ
จะดำเนินการกำหนดเสริมในบางจังหวัดหรือบางอำเภอ โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการติดตามกรณีใด กรณีหนึ่งหรือ หลายกรณีรวมกันดังนี้ 1. มีปัญหาไม่ก้าวหน้าของงานที่เป็นนโยบาย 2. มีปัญหาในเชิงการบริหารที่คาดว่าจะมีปัญหาในอนาคต และเพื่อการป้องกันปัญหาที่จะเกิดในอนาคต 3. ปรากฏชื่อเสียงทั้งด้านดีหรือไม่ดีต่อสาธารณชนอย่าง กว้างขวาง 4. เป็นตัวอย่างในการพัฒนาเพื่อให้เป็นต้นแบบในระดับเขต หรือระดับชาติต่อไป 5. จังหวัดร้องขอ

14 กำหนดการตรวจราชการ กรณีปกติ ประจำปี 2560
กำหนดการตรวจราชการกรณีปกติ เขต 7 เขต จังหวัด กำหนดการตรวจราชการ กรณีปกติ ประจำปี 2560 หมายเหตุ รอบที่ 1 รอบที่ 2 7 มหาสารคาม 1 – 3 กพ.60 7 – 9 มิย.60 กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ร้อยเอ็ด 8 – 10 กพ.60 21 – 23 มิย.60 กาฬสินธุ์ 22 – 24 กพ.60 5 – 7 กค.60 ขอนแก่น 1 – 3 มีค.60 12 – 14 กค.60 ส่งสรุปผลภาพรวมเขต 17 มีค.60 14 สค.60 สรุปผลภาพรวมเขต รอบที่ 1 วันที่ 29 – 31 มีค. 60 รอบที่ 2 วันที่ 16 – 18 สค. 60 ณ 23 พย.59

15 กำหนดการตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสำนักนายก ประจำปี 2560
กำหนดการตรวจราชการแบบบูรณาการ เขต 7 เขต จังหวัด กำหนดการตรวจราชการแบบบูรณาการร่วมกับสำนักนายก ประจำปี 2560 หมายเหตุ รอบที่ 1 รอบที่ 2 7 ขอนแก่น 7 กพ.60 18 กค.60 กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ร้อยเอ็ด 8 กพ.60 19 กค.60 มหาสารคาม 9 กพ.60 20 กค.60 กาฬสินธุ์ 10 กพ.60 21 กค.60 ส่งสรุปผลภาพรวมเขต 17 มีค.60 14 สค.60 สรุปผลภาพรวมเขต รอบที่ 1 วันที่ 29 – 31 มีค. 60 รอบที่ 2 วันที่ 16 – 18 สค. 60 ณ 23 พย.59

16 กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงาน
วันที่ 1 เช้า น. - จังหวัดนำเสนอให้เชิญเฉพาะ บุคลากรในสสจ. และรพศ./รพท(กรรมการบริหาร), บุคลากรระดับอำเภอไม่ต้องเข้าร่วมประชุม บ่าย – น. - ทีมตรวจราชการฯเข้าวิเคราะห์ข้อมูลตามหัวข้อประเด็นที่รับผิดชอบในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป วันที่ 2 ตรวจเยี่ยม คปสอ ,รพสต. และหมู่บ้าน สุขศาลา วันที่ 3 เช้า น. - ประชุมผู้ตรวจราชการกรม/สำนัก เตรียมสรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน น. - สรุปผลการตรวจราชการฯเชิญระดับคปสอ. อำเภอร่วมด้วยโดยเฉพาะผู้บริหาร ผอ.รพศ./รพท./ ,รพช. , สสอ. และผู้แทน รพสต.

17 กำหนดการตรวจราชการและนิเทศงาน
การลงพื้นที่ -ในฝ่ายต่างๆของ สสจ. ใน รพศ./รพท. วันที่ 1 และ บ่ายวันที่ 2 (เฉพาะทีมตรวจราชการกรม/ผู้แทน/สำนัก ที่ ยังวิเคราะห์ข้อมูลฯไม่เสร็จ) - ใน คปสอ. ระดับอำเภอ ,รพ.สต.และหมู่บ้าน ทีมตรวจราชการฯส่วนผู้ตรวจราชการกรม/ผู้แทน/สำนัก หากเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้วให้ร่วมคณะตรวจเยี่ยมด้วย การเลือกพื้นที่ ให้จังหวัดเลือกตัวอย่างอำเภอ โดย หมุนเวียนกัน หรือเลือกพื้นที่ที่ค่อนข้างมีปัญหา หรือเลือก พื้นที่อื่นๆที่ จังหวัด เห็นว่าเหมาะสม สามารถเป็นแบบอย่าง การทำงานได้

18 แนวทางการนำเสนอของหน่วยรับตรวจ
เช้าวันที่ 1 - สสจ. นำเสนอภาพรวมของจังหวัด ตามประเด็นตัวชี้วัด รอบที่1 วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ปัญหา Based line & Evidence based ระดับจังหวัดเปรียบเทียบระดับประเทศ ย้อนหลัง มาตรการสำคัญ และความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน ไตรมาส 1 โดยเน้นให้แสดงว่าจะสามารถทำได้ตามวัตถุประสงค์ รอบที่ 2 ให้เสนอความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดและ รายงานผลตามข้อสั่งการจากรอบที่ 1 - รพศ./รพท. ไม่ต้องนำเสนอผลงานตามตัวชี้วัดของกระทรวง โดยนำเสนอความก้าวหน้าการขับเคลื่อน การพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ (Service Plan) ของรพศ./รพท. สู่เครือข่ายของจังหวัด อย่างไร้รอยต่อ Provincial Seamless Service Networks และ การบริหารจัดการหน่วยบริการ(สถานการณ์และการบริหาร การเงินการคลัง การบริหารยาและเวชภัณฑ์ การพัฒนาบุคลากร ระบบธรรมภิบาลและผลงานเด่น

19 แนวทางการนำเสนอของหน่วยรับตรวจ
วันที่ 2 - คปสอ. เสนอผลการดำเนินงานภาพรวมของอำเภอ 1. ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลสุขภาพ การให้บริการ งาน P&P,PCC,FCT,LTC 2. การบริหารจัดการในภาพรวม คปสอ.(โครงสร้าง การจัดทำแผนงานแผน เงิน การกำกับติดตาม และระบบการสนับสนุน รพสต. 3. ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ และแผน/ผลการดำเนิงานแก้ไขปัญหา 4. การพัฒนาระบบบริการ SP เครือข่ายอำเภอลงสู่ตำบล แบบไร้รอยต่อ District / Sub District Seamless Service Networks 5. การขับเคลื่อนงานสุขภาพระดับอำเภอแบบมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย โดยใช้กลไก DHS 6. งานคุณภาพ งาน Innovation 7. ผลงานเด่น 8. ปัญหาอุปสรรคและสิ่งต้องการสนับสนุน

20 แนวทางการนำเสนอของหน่วยรับตรวจ
รพ.สต. 1.นำเสนอผลการดำเนินงานปฐมภูมิ 2.การดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรค ระดับตำบลลงสู่ หมู่บ้าน/ชุมชน 3.การจัดบริการเฉพาะงาน Services ใน รพสต. งาน FCT, PCC, LTC, Primary ,Home visit , home health care , home beds 4. ผลงานเด่นและงาน Innovation 5. ปัญหาอุปสรรคและสิ่งต้องการสนับสนุน

21 การสรุปผลการตรวจราชการ
การสรุปผลของผู้ทำหน้าที่ตรวจราชการ มี 2 ส่วน 1. Exit Conference (ผลการดำเนินงาน/Best Practice/OFI) 1) ผู้ตรวจราชการ/สาธารณสุขนิเทศก์ นำสรุปผลการตรวจราชการ 2) ตัวแทน คณะ 1–5 (ประธาน/รองประธาน/เลขา) เป็นคนนำเสนอสรุป รูปแบบ POWER POINT เป็นภาพรวมรายคณะ 2. สรุปผลการตรวจราชการ (Paper Work) - ส่งบทสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary) โดยคณะทำงาน 5 คณะ จัดทำเอกสาร One page ตามประเด็นการตรวจเป็นภาพรวมคณะ (สรุปเฉพาะ ประเด็นสำคัญที่ตรวจพบทั้งในเชิงที่เป็นปัญหาและที่ต้องการให้จังหวัดพัฒนา รวมทั้งข้อเสนอแนะสำคัญที่จังหวัดสามารถนำไปดำเนินการได้เหมาะสมตาม บริบทของพื้นที่ โดยส่งต่อให้ทีมเลขานุการอำนวยการรวบรวมจัดทำเป็นรูปเล่ม เพื่อ เสนอจังหวัดในวันประชุมสรุปผล ส่งวันที่ 2 ของการตรวจราชการ เวลา น. - ส่งสรุปผลการตรวจราชการรายจังหวัด (ตก.1) ส่งทีมเลขานุการคณะ อำนวยการ หลังจากตรวจราชการจังหวัดนั้นเสร็จสิ้น ภายใน 5 วัน

22 การรายงานผลของจังหวัดตามข้อสั่งการ
รายงานข้อเสนอแนะ ข้อสั่งการของผู้ตรวจราชการกระทรวง (ตก3)ให้จังหวัดรายงานผลการดำเนินการตามข้อสั่งการ/ เสนอแนะ ส่งให้หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขตเพื่อเสนอ ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงพิจารณา ตามกำหนดดังนี้ รอบที่ 1 ภายในวันที่ 30 เมษายน 2560 รอบที่ 2 ภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2560 จังหวัดเป็นผู้ดำเนินการ

23 การรายงานผลการตรวจราชการฯ
ภาพรวมเขตสุขภาพที่ 7 หลังจากการตรวจราชการครบ 4 จังหวัด 1.ส่งรายงานสรุปผลการตรวจภาพรวมเขต (ตก.2)และบทสรุปสำหรับผู้บริหาร(Executive Summary )เป็นรายคณะ รอบที่ 1 ใช้ผลงานไตรมาส 2 รอบที่ 2 ใช้ผลงานไตรมาส 3 โดยใช้ข้อมูลจากคลังข้อมูลเขตสุขภาพที่ 7 ส่งให้เลขานุการคณะอำนวยการทาง 2. ประชุมสรุปผลตรวจราชการในภาพรวมเขต 2 รอบ 3. แจ้งผลการตรวจ กลับไปยัง กรม, กอง และจังหวัด เพื่อดำเนินการปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอแนะต่อไป จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม สรุปผลการดำเนินงานการตรวจราชการและนิเทศงาน การบริหารจัดการในระดับเขต รอบ 6 เดือน (สิ้นเดือนมีนาคม) และรอบ 9 เดือน (สิ้นเดือนมิถุนายน)

24

25 ทีมตรวจราชการ ประกอบด้วย - ผู้ตรวจราชการกระทรวงเขตสุขภาพที่ 7
- สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 7 - ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ตรวจราชการกรม - ผู้ช่วยผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 7 - ผู้นิเทศงานจากกรม/กอง/สำนัก/จังหวัด หัวหน้ากลุ่มตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 7 - เลขาผู้ตรวจราชการฯ,เลขาสาธารณสุขนิเทศก์

26 - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป
หน่วยรับการตรวจราชการ - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด - โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป หน่วยรับการตรวจเยี่ยม - สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สุขศาลา/หมู่บ้าน

27 More choices and visual trends
THANK YOU 27


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google