สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

Nurturing Innovation for Sustainable Competitiveness June 22,2003
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
การบริหารคุณภาพองค์กร
การประชุมเอดส์นานาชาติ ครั้งที่ กรกฎาคม 2553 กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย Aids 2010 Rights here, Right now. Aids 2010 Rights here, Right now.
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
การส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมป้องกันโรค ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
วัตถุประสงค์ ภาพความสำเร็จของสถานศึกษา
บทบาทและแนวทางในการพัฒนา ทีม SRRT ต่อการควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
กรอบการเจรจาจัดทำ ความตกลงยอมรับร่วมด้านการมาตรฐาน สาขาผลิตภัณฑ์ยานยนต์ โดย นายไชยวัฒน์ ตั้งเกริกโอฬาร สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 28 กันยายน 2553.
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
ปี 52ปี 53ปี 54ปี 55ปี 56ปี 57 - แท็กซี่ + ตู๊กตุ๊ก - เก๋ง +ตู้ + กระบะ 48,164 88,481 78, ,231 78, ,015 78, ,455 78, ,640 78,174.
กลุ่มที่ 1 กลุ่มภาคเหนือและภาคตะวันออก
โรงเรียนละ 2 เล่ม.
Strategic Planning Concept / Process.
2546 สินค้าทั้งหมดมีอัตราอากรขาเข้าร้อยละ 0-5
การนำเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศไปพัฒนาองค์กร
AEC Roadmap for SMEs (ปุ๋ย)
strategy Formulation Structure Architecture Strategy deployment
People Development Solution
ระบบรายงานสภาพจราจรโดย เครือข่ายผู้ใช้งาน. สร้างเครือข่ายสำหรับการรายงานสภาพจราจร โดยมุ่งเน้นที่ กลุ่มผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ประเภท PDA และมีอายุประมาณ.
ความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล และยุทธศาสตร์ ศลช.
TRAT Model Roadmap to HIV Standard Based On HA ๒๐๑๑
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ท่านเลขาธิการ กพฐ. มอบแนวคิดในการ ทำงาน. ท่านเลขาฯ มอบแนวคิด ในการทำงาน Balance QUANTITYQUALITY RULES and REGULATIONS FLEXIBILITY VS ความท้า ทาย.
การจัดการศึกษาสู่สากล
Workshop to develop a set of competencies
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนพัฒนาบุคลากร สำนักจัดการความรู้ ปี วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรหลักใน การจัดการความรู้ สู่ความเป็นเลิศด้านการ ป้องกันควบคุมโรค พันธกิจ : สำนักจัดการความรู้
การประชุม ผู้อำนวยการสถานศึกษา สพป. มหาสารคาม เขต 1 1 สิงหาคม 2557 ณ ห้องประชุม 4 B อาคารศูนย์ภาษา และคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม มหาสารคาม.
PMQA Organization เอกสารประกอบการชี้แจงตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ สำหรับส่วนราชการระดับกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 28 ตุลาคม.
LOGO “ Add your company slogan ” การจัดการองค์ความรู้ (KM) เรื่อง เส้นทางก้าวหน้าในสาย งาน (Career Path) ของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ การจัดการองค์ความรู้ (KM)
เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา 18 ธันวาคม 2558 นโยบายในการยื่นคำขอขึ้นทะเบียนตำรับยาโดยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์
ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ขั้นที่ 1 ออกแบบ โครงสร้างการ ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ ขั้นที่ 2 ประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ รายบุคคล (Performance Management.
CPU – ARM - Cortex. CPU A4, A5 ของ Apple, Tegra2, Snapdragon, OMAP, คุณรู้ไหมครับว่า CPU พวกนี้แท้จริง แล้วก็ถูกสร้างมาด้วยพื้นฐานสถาปัตยกรรม เดียวกันชื่อว่า.
ฝ่ายอำนวยการ งานธุรการและงาน สารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานการเจ้าหน้าที่ งานสวัสดิการ งานนโยบายและที่รับ มอบหมาย ยิ้มงาม ถามไถ่ เต็มใจบริการ.
Road Map กรมคุมประพฤติ Road Map กรมคุมประพฤติ การพัฒนาพฤตินิสัยในระบบงาน คุมประพฤติแบบบูรณาการ การพัฒนาพฤตินิสัยในระบบงาน คุมประพฤติแบบบูรณาการ ชุมชนมีกลไกในการดูแลแก้ไขฟื้นฟู
Roadmap RUN for Thailand 4.0
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
ทิศทางการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการจัดการเรียนรู้ทางด้านสะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๘
ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
การนำเสนอ โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
Automotive and Alternative Fuel Laboratory (AAFL)
กลยุทธ์สร้างความแข็งแกร่งทางการเงินหลังเกษียณ สำหรับข้าราชการไทย
Health Promotion & Environmental Health
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ
Enterprise Architecture (EA)
ทบทวนนโยบายด้าน Fuel Economy และ ความเกี่ยวข้องกับนโยบายในระดับประเทศ
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
AEC ผลกระทบการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ต่อนายจ้างและแรงงานไทย
ผลการดำเนินงานกรมอนามัย รอบ 6 เดือน (ตุลาคม 2558 – มีนาคม 2559)
Roadmap AUNQA หลักสูตร
PM4 งานคุ้มครองผู้บริโภค สิ่งแวดล้อม และควบคุมโรค
ประเทศไทย 4.0 โมเดลการขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของ
โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
การประชุมจัดทำ Roadmap กระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 23 มีนาคม 2560 ณ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
Thailand 4.0 : Herbal Products Roadmap
การบริหารและขับเคลื่อน
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
ภาพรวมโครงสร้าง นโยบายด้านพลังงาน
วัน เวลา และห้องสอบ เวลาสอบวันอังคารที่ 30 เมษายน 2562 เวลา 8.00 – สอบที่อาคารคณะนิติศาสตร์ (ห้อง 1401 และ 1404) ที่ปกสมุดคำตอบทุกเล่ม ต้องเขียนsection.
ชื่อโครงการ แผนงานโครงการเชิงบูรณาการเพื่อพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ตามหลักสูตรนักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ รุ่นที่ 9
โรงแรมเจริญธานี จังหวัดขอนแก่น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อม จังหวัดพัทลุง 2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด พัทลุง จังหวัดพัทลุงพื้นที่ ๒, ๑๔๐, ๓๐๖ ไร่ ประชากร ๕๑๐, ๔๗๐ คน แบ่งการปกครอง ๑๑ อำเภอ ๖๕ ตำบล ๖๔๓ หมู่บ้าน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๗๔ แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลเมือง ๑ แห่ง เทศบาลตำบล ๔๗ แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล ๒๕ แห่ง

สถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดพัทลุง ๑. การจัดการขยะมูลฝอยทั่วไป ปริมาณขยะ ๕๐๒ ตัน / วัน รวมทั้งปี ๑๘๓, ๒๓๐ ตัน อปท. ที่มีการเก็บรวบรวมขยะ ๓๙ แห่ง ( ร้อย ละ ๕๓ ) ปริมาณขยะที่จัดเก็บ ๑๔๖ ตัน / วัน อปท. ที่ไม่มีการจัดเก็บขยะ ๓๔ แห่ง ( ร้อยละ ๔๗ ) สถานที่กำจัดขยะมูลฝอย ๒๕ แห่ง โดยวิธีเท กอง ฝังกลบ 3

สถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดพัทลุง ๒. การจัดการขยะมูลฝอยอันตราย คณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัด พัทลุง มอบให้ อบจ. พัทลุง เป็นหน่วยงานหลัก ในการจัดการมูลฝอยอันตราย ซึ่งกำหนดให้มีการ นำส่งขยะอันตรายส่งให้ อบจ. พัทลุง ในวัน สิ่งแวดล้อมโลกของทุกปี ( ๕ มิถุนายน ) โรงพยาบาลมีการคัดแยกและเก็บรวบรวมขยะ อันตรายทุกแห่ง 4

สถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดพัทลุง ๓. การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อ โรงพยาบาลของรัฐ ๑๑ แห่ง ( รพท. ๑ แห่ง รพช. ๑๐ แห่ง ) โรงพยาบาลเอกชน ๑ แห่ง ( โรงพยาบาลปิยะ รักษ์ ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ๑๒๕ แห่ง คลินิกคน ๑๓๒ แห่ง ( แพทย์ ๔๖ พยาบาล ๖๐ ทันตแพทย์ ๒๒ เทคนิคการแพทย์ ๔ ) คลินิกสัตว์ ๑๐ แห่ง ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ ประมาณ ๕๐๐ กก./ วัน โรงพยาบาลกำจัดเอง ๑ แห่ง ( รพ. เขาชัยสน ) จ้างบริษัทเอกชนกำจัด ( บริษัทเซฟวัน ) จำนวน ๑๐ แห่ง มีการจัดทำเอกสารกำกับการขนส่งมูลฝอยติด เชื้อ 5

แผนการดำเนินงานจัดการขยะมูล ฝอยจังหวัดพัทลุง ๑. มีคณะกรรมการบริหารจัดการขยะมูลฝอยจังหวัด พัทลุง และได้มีการประชุม เพื่อขับเคลื่อนนโยบายตาม Roadmap ของ รัฐบาล ๒. แผนงานบริหารจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัด พัทลุง ๒. ๑ การกำหนดพื้นที่จังหวัดเป็น ๒ โซน เพื่อเป็น ศูนย์รวมมูลฝอยจากชุมชน คือ โซนเหนือ ( ทต. มะกอกเหนือ และ ทม. เมือง ) และโซนใต้ ( ทต. แม่ขรี และ ทต. ท่ามะเดื่อ ) ๒. ๒ กำหนดแผนจัดการมูลฝอยตกค้างสะสมใน สถานที่กำจัด ( ขยะเก่า ) 6

แผนการดำเนินงานจัดการขยะมูล ฝอยจังหวัดพัทลุง 3. โครงการรณรงค์สร้างจิตสำนึกในการลดขยะใน ระดับครัวเรือน ชุมชนภายใต้การ สนับสนุนของส่วนราชการ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 4. การรณรงค์ ลด ละ เลิก การใช้โฟมบรรจุอาหาร โดยสนับสนุนการใช้วัสดุ จากธรรมชาติ หรือวัสดุทดแทนที่มีความปลอดภัย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยได้เชิญชวนให้สถานบริการสาธารณสุขเป็น ต้นแบบ และประชาสัมพันธ์ ขยายผลไปยังหน่วยงานอื่นๆ และประชาชนทั่วไป 7

การจัดการน้ำเสียโรงพยาบาล ตามบทบัญญัติในมาตรา ๘๐ แห่ง พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ. ศ. ๒๕๕๕ กำหนดให้ โรงพยาบาลขนาด ตั้งแต่ ๓๐ เตียง ขึ้นไป ต้องจัดทำบันทึก ( แบบ ทส ๑ ) และส่ง รายงานข้อมูลน้ำเสีย ( แบบ ทส ๒ ) ส่งให้แก่ราชการส่วนท้องถิ่นที่ตั้ง โรงพยาบาล ทุกเดือน โรงพยาบาลทุกแห่งได้ดำเนินการถูกต้องแล้ว 8

การจัดการสิ่งปฏิกูล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการจัดการสิ่ง ปฏิกูล จำนวน ๕ แห่ง ๑. ทม. เมืองพัทลุง มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน และ ระบบบำบัดสิ่งปฏิกูลชำรุด ๒. ทต. ควนขนุน มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ๓. ทต. เขาชัยสน มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ๔. ทต. ท่ามะเดื่อ มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ๕. ทต. แม่ขรี มีรถดูดสิ่งปฏิกูล ๑ คัน ไม่มีผู้ประกอบการเอกชน ยื่นขออนุญาต ประกอบกิจการดูดสิ่งปฏิกูล ในจังหวัดพัทลุง 9

ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ๑. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ออกข้อบัญญัติยัง ไม่ครอบคลุม และไม่ได้บังคับใช้ให้มีประสิทธิภาพ ๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขาดความพร้อม ในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งควรสร้าง ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่น เพื่อขับเคลื่อนการ ดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ 10