งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
2. องค์ประกอบระดับผลการประเมินอย่างน้อย 5 ระดับ 3. วิธีการประเมิน 4. การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน 5. ระบบบริหารแบบบูรณาการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์(IRBM) 6. Road Map รองรับ ว.20, ว.27, ว.17, ว.28

3 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์ (RBM)
RESULTS วัตถุประสงค์ OBJECTIVES ปัจจัยนำเข้า INPUT กิจกรรม PROCESS ผลผลิต OUTPUTS ผลลัพธ์ OUTCOMES ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล

4 ‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
การบริหารผลการปฏิบัติราชการ กับ การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ คุณภาพการบริการ การบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดี มีเจ้าภาพชัดเจน การบริหารจัดการ ภาครัฐแนวใหม่ มุ่งผลสัมฤทธิ์ แข่งขันได้ ใช้เทคโนโลยี วัด ประเมินได้ 4

5 แนวคิดและหลักการของการบริหารผลการปฏิบัติงาน
1.ความเป็นธรรมในการประเมินผลการปฎิบัติงานมาจาก 1.1 ผู้บังคับบัญชาในทุกระดับชั้น 1.2 กลไกในการสร้างความเข้าใจ 1.3 กลไกในการตรวจสอบขององค์กร 2. การบริหารผลการปฏิบัติงานในองค์กรภาครัฐ ต้องอาศัยเวลาเพื่อ 2.1 การขับเคลื่อนกระบวนการในการสร้างการยอมรับ 2.2 การสร้างความเข้าใจ 2.3 การฝึกทักษะที่จำเป็นต่อข้าราชการในทุกระดับ

6 ‘การบริหารผล’ การปฏิบัติราชการ
ประโยชน์ ส่วนราชการ ข้าราชการ เป้าหมายการปฏิบัติงานของ ข้าราชการทุกระดับสอดคล้องกับ ทิศทางและเป้าหมายขององค์กร การสื่อสารระหว่างผู้บังคับบัญชา และผู้ใต้บังคับบัญชาเพิ่มมากขึ้น ผู้ปฏิบัติงานทุกระดับทำงานเพื่อ ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจขององค์กร ผลการปฏิบัติงานขององค์กร สูงขึ้น จากการมีข้อมูลในการ เทียบเคียง รับทราบถึงเป้าหมายผลการ ปฏิบัติงานของตนเองอย่างชัดเจน เห็นความเชื่อมโยงของงานที่ตน ทำกับความสำเร็จขององค์กร ได้รับการพัฒนาตามความ เหมาะสมของแต่ละบุคคล ได้รับการประเมินผลงานที่ชัดเจน จากการทำข้อตกลงผลการ ปฏิบัติงานไว้ตั้งแต่ต้นรอบการ ประเมิน 6 6

7 ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ
วางแผน (Plan) ให้รางวัล (Reward) ติดตาม (Monitor) ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop) 7

8 ระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการ
เพื่อ เลื่อนเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่ง 1. คำรับรองการปฏิบัติราชการ 2. ผลสัมฤทธิ์ของงาน 3. พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ 4. แผนพัฒนารายบุคคล 5. การรายงานการบริหารผล การปฏิบัติราชการ 1. ระดับผลสัมฤทธิ์ของงานตามมาตรฐาน กำหนดตำแหน่ง (ใหม่) 2. ระดับความรู้ ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง (ใหม่) 3. ระดับทักษะ ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 4. ระดับสมรรถนะ ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 5. ระดับค่างาน ตามมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 6. ระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ 7. ระดับผลสัมฤทธิ์ของงานที่โดดเด่น

9 2. องค์ประกอบ : ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย ๕ ระดับ
แนวทางของสำนักงาน ก.พ. 2. องค์ประกอบ : ระดับผลการประเมิน อย่างน้อย ๕ ระดับ กรณี ระดับผลฯ คะแนนในแต่ละระดับ หมายเหตุ ข้าราชการทั่วไป ดีเด่น ส่วนราชการสามารถกำหนดช่วงคะแนนของแต่ละระดับได้ตามความเหมาะสม ต้องประกาศให้ทราบทั่วกัน - ดีมาก ดี พอใช้ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ ต้องปรับปรุง ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ ข้าราชการผู้อยู่ระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ผ่านการประเมิน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ ในแต่ละองค์ประกอบ คือ ผลสัมฤทธิ์ของงาน และพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ไม่ผ่านการประเมิน ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ในองค์ประกอบใดหรือทั้งสององค์ประกอบ 9

10 แนวทางของสำนักงาน ก.พ. (ต่อ)
3. วิธีการประเมิน การไล่เรียงตามผังการ เคลื่อนของงาน การพิจารณาจาก ประเด็นที่ต้องปรับปรุง การสอบถามความ คาดหวังของผู้รับบริการ การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง การประเมินแบบ ๓๖๐ องศา ฯลฯ คัดกรอง งานและการ เปลี่ยนแปลง ระหว่างรอบการ ประเมินฯ ตัวชี้วัด และ เป้าหมายของผู้ปฏิบัติ ณ ต้นรอบการประเมิน ตัวชี้วัด และ เป้าหมายที่ใช้ในการประเมิน ณ.การประเมิน 10

11 แนวทางของสำนักงาน ก.พ. (ต่อ)
แบบและขั้นตอนการประเมิน : แบบประเมิน แบบสรุปผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ส่วนที่ ๑ : ข้อมูลทั่วไป (รอบการประเมิน, ชื่อและตำแหน่ง ของผู้รับ การประเมิน, ชื่อและตำแหน่งของผู้บังคับบัญชา) ส่วนที่ ๒ : สรุปผลการประเมิน (ผลสัมฤทธิ์ของงาน, สมรรถนะ, องค์ประกอบอื่นที่ส่วนราชการกำหนด [ถ้ามี]) ส่วนที่ ๓ : แผนพัฒนา (ความรู้ ทักษะ สมรรถนะที่ต้องพัฒนา, วิธีการ พัฒนา, ช่วงเวลาที่ใช้พัฒนา) ส่วนที่ ๔ : การรับทราบของผู้รับการประเมิน และ ความเห็นของ ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป 11

12 แนวทางของสำนักงาน ก.พ. (ต่อ)
แบบและขั้นตอนการประเมิน : ขั้นตอนการประเมิน 1. เริ่มรอบการประเมิน ประกาศหลักเกณฑ์และการประเมินผลฯ ให้ทราบโดยทั่วกันภายในส่วนราชการและจังหวัด วางแผนการปฏิบัติราชการ กำหนดเป้าหมาย ระดับความสำเร็จของงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ กำหนดสมรรถนะและระดับสมรรถนะที่คาดหวังจากผู้รับการประเมิน บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการเป็นลายลักษณ์อักษร (เช่น ในแบบกำหนดและประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน และ แบบกำหนดและประเมินสมรรถนะ)

13 แนวทางของสำนักงาน ก.พ. (ต่อ)
แบบและขั้นตอนการประเมิน : ขั้นตอนการประเมิน (ต่อ) 2. ระหว่างรอบการประเมิน - ผู้บังคับบัญชา ติดตามความก้าวหน้าการปฏิบัติราชการตามแผนฯ ของผู้รับการประเมิน ให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยเหลือ ปรับเปลี่ยน เพิ่มหรือลด ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และน้ำหนัก กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของงาน - ผู้รับการประเมิน ขอคำปรึกษา คำแนะนำ ความช่วยเหลือ 13

14 แนวทางของสำนักงาน ก.พ. (ต่อ)
แบบและขั้นตอนการประเมิน : ขั้นตอนการประเมิน (ต่อ) 3. ครบรอบการประเมิน ประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน จัดทำบัญชีรายชื่อข้าราชการตามลำดับคะแนนผลการประเมิน แจ้งผลการประเมินแก่ผู้รับการประเมิน เสนอบัญชีรายชื่อข้าราชการตามลำดับคะแนนผลการประเมินให้คณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินฯ พิจารณา ประกาศรายชื่อผู้มีผลประเมินสูงกว่าระดับเฉลี่ย (ดีเด่น” และ “ดีมาก)” ผู้บังคับบัญชาให้คำปรึกษาแนะนำสำหรับการปรับปรุงแก้ไข พัฒนาผลสำเร็จของงานและพฤติกรรมในการทำงานหรือสมรรถนะแก่ข้าราชการผู้รับการประเมิน 14

15 4. การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
เลือกใช้เทคนิควิธีการวัดวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือ หลายวิธีผสมกัน การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ (Customer-Focused Method) การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน (Work Flow Charting Method) การพิจารณาจากประเด็นสำคัญที่ต้องปรับปรุง (Issue- Driven) การประเมิน 360 องศา การสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกที่เด่นชัด (Critical Incident Technique) สรุปตัวชี้วัดลงในแบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ระบุค่าเป้าหมาย โดยแยกออกเป็น 5 ระดับลงในแบบสรุปฯ กำหนดน้ำหนักของแต่ละตัวชี้วัด ข้อพึงระวัง 15

16 การกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน
ระดับองค์กร เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ผลสัมฤทธิ์ที่สนับสนุนต่อ เป้าหมายระดับองค์กร ผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจและอื่นๆ เป้าประสงค์ในระดับหน่วยงาน ระดับหน่วยงาน ตัวชี้วัดในระดับหน่วยงาน ผลสัมฤทธิ์ที่สนับสนุนต่อเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา ผลสัมฤทธิ์ตาม บทบาท หน้าที่ ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ เป้าประสงค์ในระดับบุคคล ระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล 16

17 เทคนิควิธีการกำหนดตัวชี้วัด
1.การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง 1.1 การถ่ายทอดลงมาโดยตรง เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 กรมมีการจัดการองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ ตัวชี้วัดหัวหน้า ส่วนราชการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 กรมมีการจัดการองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ ตัวชี้วัดรองหัวหน้า ส่วนราชการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ระดับค่าเป้าหมาย 1 2 3 4 5 กรมมีการจัดการองค์ความรู้ที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ ระดับ ตัวชี้วัดผู้อำนวยการ สำนัก/กอง 17

18 เทคนิควิธีการกำหนดตัวชี้วัด
1.การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง 1.2 การแบ่งค่าตัวเลขเป้าหมาย 18

19 เทคนิควิธีการกำหนดตัวชี้วัด
1.การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง 1.3 การแบ่งเฉพาะด้านที่มอบ 19

20 รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Individual จะเท่ากับ Unit
(ต่อ) สรุปความสัมพันธ์ของระดับตัวชี้วัด ลำดับที่ 5 Roadmap Profile1 Profile2 Profile3 รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Profile จะเท่ากับ Roadmap รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Unit จะเท่ากับ Profile Unit Unit Unit3 Unit Unit2 Unit Unit Unit3 I1 I2 I3 I4 I5 I6 I7 I8 I9 I I11 I I13 I I15 I I I18 รวมเกณฑ์ของค่าเป้าหมายของ Individual จะเท่ากับ Unit

21 5. ระบบบริหารแบบบูรณาการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์
เพื่อการบริหารผลการปฏิบัติราชการ (Integration for Results based Management : IRBM) ระบบแผนงาน แบบบูรณาการ ระบบบริหารแผน แบบบูรณาการ IRBM2 IRBM1 ระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการ ระบบบริหารผล สัมฤทธิ์ เพื่อ ระบบประเมินผล สัมฤทธิ์ เลื่อนเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่ง IRBM4 IRBM3

22 มาตรฐานการจัดทำระบบแผนงานแบบบูรณาการ
IRBM1 1. เขียนแผนกลยุทธ์ 2. แปลงแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติด้วย Balanced Scorecard 3. กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (1) ระดับองค์การ (Roadmap) (2) ระดับคณะกรรมการและทีมคร่อมสายงาน (KRA Profile) (3) ระดับหน่วยงาน (KRA Unit) (4) ระดับบุคคล (Individual) 4. จัดทำแผนปฏิบัติราชการรายบุคคล (Portfolio) 5. กำหนดโครงการบูรณาการ 6. จัดทำแผนทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ (HR Scorecard) 7. จัดทำแผนการเงินการคลัง 8. จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ 9. จัดทำแผนปฏิบัติการ (เขียนโครงการบูรณาการ)

23 มาตรฐานการจัดทำระบบบริหารแผนแบบบูรณาการ
IRBM2 ออกแบบโครงสร้างการบริหารแผนบูรณาการ บริหารโครงการแบบบูรณาการ (งาน ,คน ,เงิน ,เวลา ฯลฯ) บริหารความเสี่ยงเชิงกลยุทธ์ การออกแบบกำกับและติดตามงานแบบหลายทาง การนิเทศงานแบบบูรณาการ การจัดเก็บข้อมูล สารสนเทศและการรายงานผล

24 มาตรฐานการจัดทำระบบประเมินผลสัมฤทธิ์
IRBM3 1. จัดทำคู่มือการประเมินผลสัมฤทธิ์ 2. จัดทำโครงสร้างการประเมินผลสัมฤทธิ์ 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ (1) รายตัวชี้วัด (2) รายบุคคล (ผลสัมฤทธิ์ของงานและสมรรถนะ) (3) รายโครงการ (4) รายหน่วยงาน (5) แผนงานเชิงระบบ 4. จัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์

25 มาตรฐานการจัดทำระบบบริหารผลสัมฤทธิ์
IRBM4 จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล และแผนพัฒนาบุคลากรภาพรวม จัดทำเพื่อการนำมาใช้เพื่อการบริหารทรัพยากรบุคคล จัดทำเพื่อการนำมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุงระบบบริหารแบบบูรณาการมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ จัดทำเพื่อการนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA/TQA) จัดทำเพื่อการนำมาใช้ในการพัฒนาระบบคุณภาพ

26 6. Road Map รองรับ ว.20, ว.27, ว.17, ว.28 9 ให้คำปรึกษา/สนับสนุน : ธ.ค-มิ.ย 53 8 จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) : มิ.ย 53 7 จัดหาค่าตอบแทน/สิ่งจูงใจและเงินรางวัลตามผลงาน:มิ.ย53 6 แจ้งผลการประเมิน/ประกาศรายชื่อผู้มีผลงานดีมาก/ดีเด่น : มี.ค 53 5 ประเมินผลสัมฤทธิ์ : ก.พ 53 4 จัดทำข้อตกลงตามรายข้อ (MOU) : ธ.ค 52 3 วางแผนพัฒนามุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (IRBM1-IRBM4) : ม.ค 53 2 กำหนดโครงสร้างการประเมินผลสัมฤทธิ์(คณะกรรมการ/เครื่องมือ/คำสั่งมอบหมายงาน) : ธ.ค 52 ประกาศหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ตาม ว.20, ว.27, ว.17, ว.28 เลื่อนเงินเดือน รอบที่ 1 (ต.ค-มี.ค 53) สมรรถนะ 30 ธ.ค 52 ความรู้ ทักษะ 30 ก.ย 53 การประเมินค่างาน (Job evaluation) 1 เลื่อนระดับ/ตำแหน่ง

27 (ขั้นตอนที่ 10-13 ทำสมบูรณ์รอบที่ 2)
Content ครู ก IRBM1 1. ทบทวนแผนกลยุทธ 2. กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 3. จัดทำแผนปฏิบัติราชการรายบุคคล 4. กำหนดโครงการบูรณาการ (ข้อ 5-9 ทำสมบูรณ์รอบที่ 2) 9 เขียนแผนปฏิบัติการ 8 กำหนดโครงการบูรณาการ 7 กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย 6 เขียนแผนที่กลยุทธ 5 กำหนดผลสัมฤทธิ์รวมที่คาดหวัง 4 เขียนแผนกลยุทธ 3 กำหนดกลยุทธ 2 วิเคราะห์เชิงกลยุทธ 1 วิเคราะห์ข้อมูลและสารสนเทศ (ขั้นตอนที่ ทำสมบูรณ์รอบที่ 2)

28 Content ครู ก (ต่อ) IRBM3 1. จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์
2. จัดทำโครงสร้างการประเมิน 3. ประเมินผลสัมฤทธิ์ 1) รายตัวชี้วัด 2) รายบุคคล 3) รายโครงการ 4) รายหน่วยงาน 4. จัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ บริหารค่าตอบแทน/สิ่งจูงใจและเงิน รางวัลตามผลงาน 6 5 จัดทำรายงานการประเมินผลสัมฤทธิ์ 4 ประเมินผลสัมฤทธิ์ 3 สื่อสาร/สร้างความเข้าใจ 2 จัดทำคู่มือประเมินผลสัมฤทธิ์ 1 จัดทำโครงสร้างการประเมิน

29


ดาวน์โหลด ppt ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google