การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา 13.00 น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น “ขับเคลื่อนอย่างไรให้ยั่งยืน”
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โครงการพัฒนาการศึกษา จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ปีงบประมาณ 2559 สำนักงาน กศน. จังหวัดสงขลา รับผิดชอบ จำนวน 4 โครงการ ประกอบด้วย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ผลการดำเนินงานMCHBเขต ปี 2558
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ข้อมูล เอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ในการประเมิน เป้าประสงค์ที่ 1
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ เขต 12 สงขลา
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา

ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งที่ประชุม ทราบ

การจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนากลไกและศักยภาพ กองทุนฯท้องถิ่น ปี 2556 จังหวัดจำนวน กองทุน รวมงบประมาณสนับสนุน (บาท) สงขลา140700,000 สตูล41205,000 พัทลุง73365,000 ตรัง99495,000 ปัตตานี113565,000 ยะลา63315,000 นราธิวาส88440,000 รวม6173,085,000 - จัดทำโครงการเสนอ สปสช.เขตเพื่ออนุมัติ / วางเบิก / โอน - มีบางกิจกรรมที่ถูกกำหนดจากเขต

ในภาพรวมของการพัฒนาในปี 2555 การสร้างทีมวิทยากรระดับจังหวัด การสร้างทีมวิทยากรระดับอำเภอ การสร้างศูนย์เรียนรู้กองทุนในระดับอำเภอ การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนโดยทีมวิทยากระดับ อำเภอ การติดตาม นิเทศกองทุนโดยทีมวิทยากระดับอำเภอและทีมจังหวัด การอบรมการใช้โปรแกรมและการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรม ออนไลน์ การพัฒนากระบวนการจัดการของกองทุนโดยการประเมินตนเอง การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับจังหวัด อื่นๆ (รูปแบบเฉพาะของแต่ละจังหวัด) ผลการดำเนินงานระดับกองทุน (word)

ระเบียบวาระที่ 2 กระบวนการของแต่ละจังหวัดใน ปี 2555 เพื่อการแลกเปลี่ยน

ระเบียบวาระที่ 3 วางแผน / รูปแบบการ ดำเนินงาน การพัฒนา กองทุน ระดับจังหวัด

ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมา ของการพัฒนากองทุนฯ ปี 55 ยังไม่มีการใช้โปรแกรมเป็นเครื่องมือเท่าที่ควร (ทั้งระดับจังหวัด/อำเภอ) ทีมอำเภอยังไม่มีบทบาทเท่าที่ควร การจัดสรรงบประมาณให้ทีมอำเภอล่าช้า /ไม่จัดสรร การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนยังไม่เข้มข้น กองทุนขาดการติดตามจากผู้เกี่ยวข้อง อื่น ๆ

เป้าหมาย ของการพัฒนากองทุนฯ ปี 56 ทุกกองทุนมีศักยภาพในการบริหารจัดการ มีการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน บันทึกข้อมูลผ่าน tobt ครบถ้วนถูกต้อง เป็นปัจจุบัน ทุกกองทุน (รวมทั้งการบันทึกข้อมูลประเมินตนเองปีละ 2 ครั้ง) ผู้รับผิดชอบและเลขาฯเข้าใจกระบวนการทางธุรการของกองทุน บรรลุตัวชี้วัดเชิงผลงานปี 2556 ( 2 ตัว) ครบทุกกองทุน มีการสมทบเงินตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขครบทุกกองทุน ประเมินตนเองอยู่ในระดับ A+ หรือ A ได้ร้อยละ 80 ไม่มีระดับ C ปีละ 2 ครั้ง (มีนาคม / สิงหาคม) ได้รับการประเมินจากทีมอำเภอครบทุกกองทุน ปีละ 2 ครั้ง (เมษายน / สิงหาคม)

กลไกสำคัญ กลไกระดับจังหวัด / อำเภอ / ศูนย์เรียนรู้ ทีมอำเภอ อบรมคณะกรรมการบริหารกองทุนภายในอำเภอ นิเทศติดตาม ให้คำปรึกษาทุกกองทุนในระดับอำเภอ ประเมินเพื่อการพัฒนากองทุนทุกกองทุน (บันทึกผลการประเมิน) บูรณาการตัวชี้วัดกระทรวงกับภารกิจของกองทุนฯ ผ่าน รพ.สต. ทีมจังหวัด : review ใหม่, จำนวนไม่มากนัก, จัดทีม ควบคุมกำกับ ติดตามความก้าวหน้าระดับอำเภอ ศูนย์เรียนรู้ ร่วมกับทีมอำเภอในการติดตามกองทุนภายในอำเภอ เป็นแหล่งศึกษาของกองทุนอื่นๆในอำเภอ

งบพัฒนากองทุนตำบล ปี 2556 (6,000 บาท / กองทุน) งบกองทุน 5,000/กองทุน 3,085,000.- งบบริหาร(ส.ภาคีฯ) 1,000/กองทุน 617,000.- จัดสรรผ่านจังหวัดบริหารจัดการโดยเขต ค่าใช้จ่ายของทีมจังหวัด สนับสนุนทีมระดับอำเภอในการอบรม คณะกรรมการกองทุนฯทุกคน สนับสนุนทีมระดับอำเภอในการติดตาม นิเทศกองทุนในพื้นที่ อบรมฟื้นฟูโปรแกรม tobt.nhso.go.th เวทีประกวดนวัตกรรมกองทุนระดับจังหวัด พัฒนาทีมจังหวัด พัฒนาศูนย์เรียนรู้ทุกอำเภอ ประชุม / ติดตามความก้าวหน้า / ประกวดกองทุนระดับเขต พัฒนาศักยภาพทีมอำเภอ

การจัดสรรงบฯที่ได้รับของจังหวัด ขอให้มีกิจกรรมดังนี้ 1.พัฒนาศักยภาพทีมอำเภอในการนิเทศติดตามกองทุน 2.การประชุมวางแผนการติดตามให้ระดับอำเภอ (แจ้งเขตด้วย) 3.การจัดสรรงบประมาณให้กับทีมอำเภอเพื่อการติดตาม นิเทศกองทุนทุกกองทุนภายในอำเภอที่เป็นรูปธรรม

ผังระยะเวลาการดำเนินงาน กิจกรรม ก.พ. มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.คส.ค.กย. จัดทำโครงการเสนอเขต พัฒนาศักยภาพทีมอำเภอ (จ.) จัดประชุมทีมอำเภอ (จ.)วางแผนการ นิเทศติดตาม จัดสรรงบประมาณให้กับทีมอำเภอ (จ.) ทีมอำเภอออกติดตามนิเทศ 2 ครั้ง/ปี พัฒนาทีมจังหวัด (เขต) พัฒนาศูนย์เรียนรู้ (เขต) ถอดบทเรียนระดับเขต(เขต) กิจกรรมอื่นๆ (พัฒนาศักยภาพกองทุน /tobt / นวัตกรรมระดับจังหวัด ส่งโครงการตามฟอร์ม 8 กุมภาพันธ์ 56

ตัวชี้วัดกองทุน ปี 56 ร้อยละของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ มีกิจกรรมคัดกรองโรคเบาหวาน และ/หรือโรคความดันโลหิตสูง ในชุมชน ในระดับ Verbal Screening ร้อยละ 85 ร้อยละของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค หรือฟื้นฟูสมรรถภาพใน กลุ่มผู้สูงอายุหรือคนพิการในชุมชน ร้อยละ 85 ที่มาของข้อมูลเพื่อการประเมิน : tobt.nhso.go.th

ระเบียบวาระที่ 4 อื่น ๆ ประเด็นหารือ : - การโอนเงินให้ทีมอำเภอ โอนอย่างไร - เอกสารที่แจก ( ควรทำ - ไม่ ควรทำ ) - การรายงานผลการ ดำเนินงาน - รายชื่อแกนนำของแต่ละ อำเภอ - การรับเงินกองทุนของ รพ. สต. - อื่น ๆ