LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
แนวคิด และความสำคัญของการ ดำเนินงาน ปรับปรุงแนวทางการดำเนินงานการจัด การศึกษาตามหลักสูตรฯ จากการดำเนินงานที่ผ่านมา หลักสูตรดังกล่าวมีการใช้ดำเนินงานมาเป็น เวลานานมา 7 ปี สมควรแก่การดำเนินการ ปรับปรุง เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ทาง สังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การดำเนินการจัดการศึกษาที่ผ่านมา บางส่วน ยังไม่สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของ ผู้เรียน และชุมชนอย่างชัดเจน ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ที่ใช้ข้อมูลบริบท ชุมชน และทุนทางสังคมเป็นฐานในการจัด กระบวนการเรียนรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาทางสังคม เช่น การใช้ พลังงาน การเป็นหนี้ เป็นต้น ด้วยการให้ การศึกษา และการจัดการเรียนรู้เพื่อนำไปปรับ ใช้ในวิถีการดำเนินชีวิต ฯลฯ
แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักสูตร ฯ ( ปรับปรุงใหม่ ) การสร้างความเข้าใจจากส่วนกลาง สู่ สถานศึกษา เพื่อการปฏิบัติ ชี้แจงประธานกลุ่ม ผู้บริหาร กศน. จังหวัด สถานศึกษา / ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงาน การดำเนินงานจริงในเชิงพื้นที่ ( สถานศึกษา )
กรอบเนื้อหาที่มีการปรับปรุง แบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เนื้อหาหลักเกณฑ์การดำเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักสูตรฯ ( ที่ปรับปรุงใหม่ 59) ส่วนที่ 2 บทบาทและภารกิจของหน่วยงานและสถานศึกษา
ส่วนที่ 1 เนื้อหาแนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตามหลักสูตรฯ ( ปรับปรุงใหม่ 59) 1. โครงสร้างหลักสูตร ( ปรับปรุงเฉพาะวิชาเลือก ) 2. รายวิชาบังคับ 3. รายวิชาเลือก 3.1 รายวิชาเลือกบังคับ 3.2 รายวิชาเลือกเสรี 4. การวัดและประเมินผล 5. การเทียบโอน 6. รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ที่ สาระการ เรียนรู้ จำนวนหน่วยกิต ประถมศึกษ า มัธยมศึกษา ตอนต้น มัธยมศึกษา ตอนปลาย วิช า บัง คับ วิชา เลือก วิช า บัง คับ วิชา เลือก วิชา บังคั บ วิชา เลือก 1 ทักษะการ เรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การประกอบ อาชีพ ทักษะการ ดำเนินชีวิต การพัฒนา สังคม รวม นก.56 นก.76 นก. กิจกรรมพัฒนา คุณภาพชีวิต 200 ชม.
ที่ สาระการ เรียนรู้ จำนวนหน่วยกิต ประถมศึกษามัธยมศึกษา ตอนต้น มัธยมศึกษา ตอนปลาย เลือก บังคับ เลือก เสรี เลือก บังคับ เลือก เสรี เลือก บังคับ เลือก เสรี 1 ทักษะการ เรียนรู้ ความรู้ พื้นฐาน การประกอบ อาชีพ ทักษะการ ดำเนินชีวิต การพัฒนา สังคม รวม นก.16 นก.32 นก.
ส่วนที่ 2 บทบาทและภารกิจของหน่วยงานสถานศึกษา
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย วิเคราะห์และจัดทำเนื้อหาที่จำเป็นต้องรู้ในรายวิชาบังคับ ปรับเนื้อหาในรายวิชาบังคับบาง รายวิชาให้ทันสมัย จัดทำสาระและมาตรฐานสาระในรายวิชา เลือกบังคับ ออกรหัสรายวิชา จัดทำสื่อหนังสือเรียนรายวิชาเลือก บังคับ
กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ( ต่อ ) ปรับปรุงระบบโปรแกรมการออกรหัสรายวิชาเลือก ทำหลักเกณฑ์การเทียบโอน ยกเลิกปรับปรุง หรือเพิ่มเติมหนังสือสั่ง การที่เกี่ยวข้อง การจัดทำหนังสือสั่งการให้ใช้หลักเกณฑ์การ ดำเนินงานหลักสูตรฯ 51
กลุ่มพัฒนาระบบการทดสอบ จัดทำ Test Blueprint รายวิชาบังคับ / วิชาเลือกบังคับ จัดทำต้นฉบับแบบทดสอบวิชาเลือก บังคับ ประสานงานการจัดสอบปลายภาคและการสอบ N-Net ในสัปดาห์เดียวกัน พัฒนาระบบการสอบออนไลน์
1 2 3 สำนักงาน กศน. กทม / จังหวัด ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษา พิจารณาความสอดคล้องของรายวิชาเลือก กับโปรแกรมการเรียนรู้ ดำเนินการออกรหัสรายวิชาเลือกเสรี
1 สถานศึกษา การเตรียมการ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นมาและ แนวคิดในการปรับหลักเกณฑ์ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดหาสื่อประกอบการเรียนวิชา เลือกเสรี การวัดและประเมินผล การเทียบโอนผลการเรียน
2 สถานศึกษา ( ต่อ ) ขั้นการจัดการศึกษา แนะแนวทางการศึกษา การวิเคราะห์ผู้เรียน จัดให้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาเลือก บังคับ การวางแผนและการจัดกระบวนการ เรียนรู้
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ตามเกณฑ์การจัดการศึกษาที่ปรับปรุงใหม่ 1. ใช้กลไกของกลุ่มโซนในการสร้างความเข้าใจ ให้กับผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากร 2. การกำกับ ติดตามการดำเนินงานในเชิง วิชาการ 3. ศึกษานิเทศก์ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเป็น ผู้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ เป็นทีมสอน งาน (coaching) 4. ดำเนินการวิจัยติดตามการ ดำเนินงานการจัดการศึกษา