งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2553 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2553 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2553 www.themegallery.com ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552

2 เข็มมุ่ง www.themegallery.com พัฒนาสติปัญญาเด็กไทยแรกเกิด - 5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ใน 75 จังหวัด 1 พัฒนาการจัดบริการแก่เด็กบกพร่องทางพัฒนาการ วัยแรกเกิด – 5 ปี ในศูนย์บริการสาธารณสุขในกรุงเทพมหานคร 2 พัฒนาเด็กวัยเรียน (กลุ่มเด็กที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ) ในจังหวัดสมุทรปราการ 3 3 พัฒนาเด็กวัยรุ่น (กลุ่มที่มีพฤติกรรมเสี่ยงเรื่องเด็กติดเกม) ในสถานศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร 4 4 5

3 ความสอดคล้องของโครงการด้านเด็กปี 2553 กับแผนยุทธศาสตร์ฯเด็กและยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต โครงการภายใต้ ยุทธศาสตร์เด็ก โครงการพัฒนาสติปัญญาวัย แรกเกิด – 5 ปี โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทาง พัฒนาการเด็กแรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2 โครงการพัฒนาสุขภาพจิต นักเรียนกลุ่มเสี่ยง โครงการพัฒนาโปรแกรม การจัดกิจกรรมการดูแล ช่วยเหลือเด็กชอบเล่นเกมใน สถานศึกษาแบบบูรณาการ กรอบยุทธศาสตร์เด็ก เพิ่มตัวอย่างพื้นที่สร้างสรรค์ เพิ่มกิจกรรมสร้างสรรค์ เพิ่มการเรียนรู้ตามวัย เพื่อให้มีภูมิคุ้มกันทาง สุขภาพจิตเด็ก ประชาชน(เด็ก)มี สุขภาพจิตดี ส่งเสริมและ พัฒนาภาคี เครือข่ายในการ ดำเนินงาน สุขภาพจิต www.themegallery.com

4 โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็ก และเยาวชน โครงการพื้นที่เป้าหมายกลุ่มเป้าหมายงบประมาณ 1.พัฒนาสติปัญญา เด็กไทย วัยแรกเกิด-5 ปี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กใน 75 จังหวัดๆละ 5 ศูนย์ (375 ศูนย์) ยกเว้นกทม. เด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี พ่อแม่ ผู้ดูแล 17,444,000 (PP) 1,000,000 (กรมสุขภาพจิต) 2. จัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทาง พัฒนาการวัย แรกเกิด – 5 ปีใน กรุงเทพมหานคร ปีที่ 2 ศูนย์บริการสาธารณสุข 25 ศูนย์ในกทม. เด็กวัยแรกเกิด – 5 ปี 12,448,000 (สปสช) www.themegallery.com

5 โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็ก และเยาวชน โครงการพื้นที่เป้าหมายกลุ่มเป้าหมายงบประมาณ 3. พัฒนาสุขภาพจิต นักเรียนกลุ่มเสี่ยง โรงเรียนประถมใน จ.สมุทรปราการ 23 แห่ง โรงเรียนอนุบาลใน 76 จังหวัด เด็กวัยเรียนกลุ่ม เสี่ยง ครูโรงเรียน ประถมศึกษา ครูอนุบาล 1,000,000 (อปท,สพฐ.) 2,000,000 (สมาคมอนุบาล, ภาคเอกชน) 4. พัฒนาโปรแกรมการจัด กิจกรรมการดูแลช่วยเหลือ เด็กชอบเล่นเกมใน สถานศึกษาแบบบูรณาการ โรงเรียนในกรุงเทพฯ 2 โรงเรียน เด็กที่ชอบเล่น เกม ครู ผู้ปกครอง 1,500,000 (กรมสุขภาพจิต) รวมทั้งสิ้น 32,892,000 (แหล่งอื่น) 2,500,000 (กรมสุขภาพจิต) www.themegallery.com

6 โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย วัยแรกเกิด – 5 ปี www.themegallery.com Add Your Title 1.เพื่อพัฒนาสติปัญญา (IQEQ) เด็กแรกเกิด – 5 ปีในพื้นที่ เป้าหมาย 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพพ่อแม่ / ผู้ดูแลเด็กให้มีความรู้และ ทักษะในการพัฒนาสติปัญญา (IQEQ) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพครูพี่เลี้ยง ให้มีความรู้และทักษะในการ พัฒนาสติปัญญา(IQEQ) วัตถุประสงค์ 1.ร้อยละ 90 ของเด็กแรกเกิด – 5 ปีในพื้นที่เป้าหมายมีพัฒนาการ สมวัย (อนามัย 49) 2.ร้อยละ 80 ของพ่อแม่ที่เข้าร่วม กิจกรรมมีความรู้และทักษะใน การพัฒนาสติปัญญา (IQEQ) 3.ร้อยละ 80 ของครูพี่เลี้ยงที่เข้า ร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะ ในการพัฒนาสติปัญญา(IQEQ) ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย

7 กรอบแนวคิด Parent Education www.themegallery.com โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย วัยแรกเกิด – 5 ปี

8 ปี 2552 ได้เทคโนโลยี - คู่มือพัฒนา IQ EQ เด็กไทยวัยแรกเกิด -2 ปี และ 3-5 ปี ( 2 ก 2 ล) - หลักสูตรฝึกอบรมเรื่อง การพัฒนาสติปัญญา เด็กไทยวัยแรกเกิด-5 ปี www.themegallery.com โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย วัยแรกเกิด – 5 ปี

9 กิจกรรมค่าเป้าหมาย 1. พัฒนาศักยภาพเครือข่าย(TOT) 4 รุ่นประมาณ 600 คน 2. พัฒนาศักยภาพพ่อแม่15,000 คน (แรกเกิด – 2 ปี และ 3-5 ปี) 3. สนับสนุนการทำงานแก่เครือข่าย 3.1 ประชุมวิชาการการพัฒนา สติปัญญาเด็กไทยครั้งที่ 7 3.2 นิเทศการทำงานในพื้นที่ 3.3 สัมมนาประเมินผลการดำเนินงาน ด้านส่งเสริมและพัฒนา สุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 600 คน ตามพื้นที่ดำเนินการ 250 คน www.themegallery.com โครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย วัยแรกเกิด – 5 ปี ปี 2553

10 โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทางพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2 www.themegallery.com Add Your Title 1.เพื่อให้เด็กบกพร่องทาง พัฒนาการวัยแรกเกิด- 5 ปี ใน กรุงเทพมหานคร ได้รับการ ส่งเสริมพัฒนาการ 2.เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งของ ระบบบริการ ได้แก่ คลินิก สุขภาพเด็กดี (Well baby clinic) คลินิกส่งเสริม พัฒนาการเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก การเยี่ยมบ้าน และการส่ง ต่อ วัตถุประสงค์ 1.ร้อยละ 85 ของเด็กบกพร่องทาง พัฒนาการวัยแรกเกิด - 5 ปี ได้รับการคัดกรองและส่งเสริม พัฒนาการ 2.ร้อยละ 60 ของศูนย์บริการ สาธารณสุขที่เข้าร่วมโครงการมี ระบบการจัดบริการแก่เด็ก บกพร่องทางพัฒนาการวัยแรก เกิด - 5 ปี ตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย

11 โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทางพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2 www.themegallery.com Add Your Title 3. เพื่อให้การศึกษาแก่ชุมชนและ บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการ แก้ปัญหาความบกพร่องทาง พัฒนาการ วัตถุประสงค์ 3.ร้อยละ 70 ของบุคลากรที่เข้ารับ การอบรมมีความรู้และทัศนคติที่ ดีต่อเด็กบกพร่องทางพัฒนาการ 4.ร้อยละ 70 ของบุคลากรที่เข้ารับ การอบรมมีทักษะในการ ช่วยเหลือดูแลเด็กบกพร่องทาง พัฒนาการ ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย

12 กรอบแนวคิด บทบาท โครงการจัดบริการเด็กแก่เด็กบกพร่องทางพัฒนาการวัยแรกเกิด -5 ปี ใน กรุงเทพมหานคร ระดับผู้ให้บริการ หน่วยงานที่รับผิดชอบ / หน่วยงานที่มีส่วนร่วม ระดับตติยภูมิ รับส่อต่อเด็กจากหน่วยบริการทุติยภูมิ ให้บริการตรวจพิเศษ ในรายที่มีความต้องการ พิเศษ เช่น IQ Test, การได้ยิน ฯลฯ ให้บริการทางการแพทย์เฉพาะทาง ให้บริการฟื้นฟูโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง เช่น พฤติกรรมบำบัด กายภาพบำบัด และปฐมภูมิ แก้ไขการพูด ส่งเสริมพัฒนาการ ฯลฯ ส่งกลับหน่วยบริการทุติยภูมิ และปฐมภูมิ เพื่อดูแลรักษาต่อเนื่อง และติดตามเยี่ยมบ้าน ระดับทุติยภูมิ ประเมินพัฒนาการเด็กโดยละเอียด วินิจฉัยปัญหา พัฒนาการและวางแผนให้การช่วยเหลือดูแล ร่วมกับผู้ปกครอง จัดทำโปรแกรมการฝึกเด็กที่บ้านสำหรับ ปกครองและส่งต่อระดับปฐมภูมิเพื่อติดตามที่บ้าน จัดทำบันทึกพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล ส่งต่อในรายที่มีปัญหาซ้ำซ้อน เช่น มีปัญหา พฤติกรรมมีปัญหาร่างกาย ได้แก่ โรคหัวใจ ลมชัก ฯลฯ จิตแพทย์ / แพทย์ และทีมงานสหวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้อง 1 สถาบันราชานุกูล 2 รพ.จุฬาลงกรณ์ฯ 3 รพ. ศิริราช 4 รพ.รามาธิบดี 5 รพ. พระมงกุฎเกล้า 6 วิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ วชิรพ ยาบาล 7 สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี 8 รพ. ภูมิพลอดุลยเดช 9 รพ. สมเด็จพระปิ่นเกล้า 10 รพ.ตำรวจ แพทย์ นักจิตวิทยา พยาบาลจิตเวช ฯลฯ ศูนย์ฯคลองกุ่ม ศูนย์ฯม่วงแค 12 ศูนย์ภาค

13 กรอบแนวคิด ระดับปฐมภูมิ ประเมินพัฒนาการเด็กเบื้องต้น วินิจฉัยปัญหา พัฒนาการและวางแผนให้การช่วยเหลือดูแล ร่วมกับผู้ปกครอง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามลำดับความสามารถ ให้คำแนะนำการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแก่ ผู้ปกครอง จัดทำโปรแกรมการฝึกเด็กที่บ้านสำหรับผู้ปกครอง เยี่ยมบ้านเด็กในรายที่มีปัญหา เช่น ไม่มาตามนัด จัดทำบันทึกพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล ส่งต่อในรายที่มีปัญหาซับซ้อน เช่น มีปัญหา พฤติกรรม มีปัญหาร่างกาย ได้แก่ โรคหัวใจ ลมชัก ฯลฯ ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง พยาบาล นักจิตวิทยา นักกายภาพบำบัด ฯลฯ อาสาสมัครสาธารณสุข พนักงานสุขภาพชุมชน ครูในศูนย์เด็กเล็ก ผู้ปกครอง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ระดับชุมชน ค้นหา/คัดกรองเบื้องต้นเด็กกลุ่มเสี่ยงและกลุ่ม มีปัญหา พัฒนาการ ส่อต่อเพื่อประเมินพัฒนาการเบื้องต้น เยี่ยม ติดตาม กรณีหน่วยปฐมภูมิ/ทุติยภูมิ/ ตติยภูมิ ส่งกลับเพื่อติดตามเยี่ยมบ้าน

14 โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทางพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2 1 1 2 2 3 3 4 4 ปี 2552 (เม.ย. – มิ.ย.) สื่อ/เทคโนโลยีสำหรับคัดกรอง ประเมินและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิด – 5 ปี หลักสูตรสำหรับอบรมนักจิตวิทยา พยาบาล และอสส. นักจิตวิทยา 30 คนที่ผ่านการอบรม อยู่ประจำศบส. 30 ศูนย์ นักจิตวิทยาผ่านการอบรม 31 คน พยาบาลศบส. ผ่านการอบรม 61 คน อสส. ผ่านการอบรม 1,200 คน เด็กได้รับการคัดกรอง 14,151 คน พบเสี่ยง 1,332 คน ได้รับการประเมิน 190 คน และได้รับการส่งเสริมพัฒนาการ 68 คน

15 กิจกรรมค่าเป้าหมาย 1.ขั้นเตรียมการ 1.1 ประชุมชี้แจงผู้บริหาร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1.2 รับสมัครสรรหานักจิตวิทยาที่ ปฏิบัติงานในศบส. 1.3 เตรียมการและพัฒนาระบบเพื่อ รองรับบริการในศูนย์บริการ สาธารณสุขเป้าหมายอีก 25 แห่ง 1.4 พัฒนาและผลิตเทคโนโลยี ที่เหมาะสมสำหรับบริการในระดับ ชุมชน ปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ได้แก่ จัดหาสื่ออุปกรณ์ในการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก แบบคัด กรองพัฒนาเด็ก 25 คน 25 แห่ง หลักสูตร 3 หลักสูตร แบบคัดกรอง ประเมินและส่งเสริม พัฒนาการพร้อมสื่ออุปกรณ์ www.themegallery.com ปี 2553 โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทางพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2

16 กิจกรรมค่าเป้าหมาย 1.ขั้นเตรียมการ 1.5 พัฒนาและผลิตเทคโนโลยี ประกอบการอบรมบุคลากร 1.6 อบรมบุคลากรระดับปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ได้แก่ บุคลากร คลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) พยาบาลเยี่ยมบ้าน อาสาสมัครสาธารณสุข 100 ชุด นักจิตวิทยา 25 คน พยาบาล 50 คน อสส. 1,000 คน 2.ขั้นจัดบริการ 2.1 คัดกรองเบื้องต้นเพื่อค้นหาเด็ก กลุ่มเสี่ยงและเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการ 2.2 ประเมินละเอียด ให้การส่งเสริม พัฒนาการ และจัดทำบันทึกพัฒนาการเด็ก เป็นรายบุคคล และส่งต่อในรายที่เกิน ขอบเขตการให้บริการ คัดกรอง 45,000 คน ประเมิน 4,500 คน ส่งเสริมพัฒนาการ 2,000 คน www.themegallery.com ปี 2553 โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทางพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2

17 กิจกรรมค่าเป้าหมาย 3.ขั้นประเมินและสรุปผลการ ดำเนินงาน 3.1 การนิเทศติดตาม 3.2 สัมมนาประเมินผลการ ดำเนินงาน ศูนย์บริการสาธารณสุขในกรุงเทพมหานคร 25 แห่ง 1 ครั้ง www.themegallery.com ปี 2553 โครงการจัดบริการแก่เด็กที่มี ความบกพร่องทางพัฒนาการเด็ก แรกเกิด – 5 ปีในกรุงเทพมหานคร ปีที่ 2

18 โครงการพัฒนาสุขภาพจิตนักเรียนกลุ่มเสี่ยง www.themegallery.com Add Your Title 1.เพื่อปรับทัศนคติครูต่อเด็กกลุ่ม เสี่ยง 2.ปรับทัศนคติเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มี ต่อตัวเอง 3.เพื่อให้ความรู้กับครูรร.อนุบาล ในสังกัดสมาคมอนุบาลฯ วัตถุประสงค์ 1.ร้อยละ 70 ของครูที่เข้าร่วม โครงการมีทัศนคติดีต่อเด็กใน กลุ่มที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต่ำ 2.จำนวนครู ที่สามารถปรับเปลี่ยน วิธีการในการช่วยเหลือเด็ก 3.ร้อยละ 70 ของเด็กที่เข้าร่วม โครงการมีทัศนคติต่อตนเองดี ขึ้น 4.ร้อยละ 70 ของครูที่เข้าร่วม โครงการมีความรู้เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย

19 ปี 2552 ได้เทคโนโลยี - Success Story - หลักสูตรเทคนิคในการ ดำเนินการในชั้นเรียนเพื่อ ส่งเสริมพฤติกรรมทางการ เรียนเชิงบวกของเด็กที่มี ผลสัมฤทธ์ทางการเรียน ต่ำสำหรับครู www.themegallery.com โครงการพัฒนาสุขภาพจิตนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

20 กิจกรรม(ปรับทัศนคติครู)ค่าเป้าหมาย 1. ชี้แจงให้ ผอ.โรงเรียนร่วมรับทราบแนว ทางการดำเนินโครงการ โรงเรียน 23 แห่ง 2. ฝึกอบรม/ สัมมนา ครูในโรงเรียน เป้าหมาย เพื่อให้เข้าใจเด็กวิธีการใน การดำเนินการในชั้นเรียน โดยใช้ รูปแบบเรียนรู้ความรู้สึกเสมือนเป็นเด็ก เรียนอ่อน ผ่านกิจกรรม walk rally โรงเรียน 23 แห่ง 3. นิเทศติดตามโรงเรียน 10 แห่ง 4. จัดพิมพ์หนังสือ success story 5. สัมมนาประเมินผลการดำเนินงาน www.themegallery.com ปี 2553 โครงการพัฒนาสุขภาพจิตนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

21 กิจกรรม(ปรับทัศนคติเด็ก)ค่าเป้าหมาย 1. จัดทำหลักสูตร ปรับเจตคติต่อตัวเอง - จัดค่ายสำหรับเด็กที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ำการเรียนรู้ โดยจัดกิจกรรม เพื่อเพิ่มความสามารถของตนเองผ่าน กิจกรรม ฐาน multiple intelligence โรงเรียน 13 แห่ง ในจังหวัดสมุทรปราการ www.themegallery.com ปี 2553 โครงการพัฒนาสุขภาพจิตนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

22 กิจกรรม (เพิ่มความรู้ครูอนุบาล) ค่าเป้าหมาย 1. ประชุม/ สัมมนา ชี้แจงแก่ ผู้เกี่ยวข้อง 1 ครั้ง 2.ฝึกอบรม/ สัมมนา ครูในโรงเรียน เป้าหมาย เพื่อให้ความรู้จิตวิทยาทั่วไป และเด็กพิเศษ 1 ครั้ง 3. ประเมินผลการดำเนินงาน1 ครั้ง www.themegallery.com ปี 2553 โครงการพัฒนาสุขภาพจิตนักเรียนกลุ่มเสี่ยง

23 โครงการพัฒนาโปรแกรมการจัดกิจกรรมการ ดูแลช่วยเหลือเด็กชอบเล่นเกมในสถานศึกษา แบบบูรณาการ www.themegallery.com Add Your Title 1. เพื่อพัฒนาโปรแกรมการจัด กิจกรรมการดูแลช่วยเหลือ เด็ก ชอบเล่นเกมในสถานศึกษาแบบ บูรณาการ 2. เพื่อติดตามผลงานการ ดำเนินงานโปรแกรมการจัด กิจกรรมการดูแลช่วยเหลือ เด็ก ชอบเล่นเกมในสถานศึกษาแบบ บูรณาการ วัตถุประสงค์ 1.โปรแกรมการจัดกิจกรรมการดูแล ช่วยเหลือ เด็กชอบเล่นเกมใน สถานศึกษาแบบบูรณาการ จำนวน 1 โปรแกรม 2. รายงานวิจัยประเมินผลหลักสูตร โปรแกรมการจัดกิจกรรมการดูแล ช่วยเหลือ เด็กชอบเล่นเกมใน สถานศึกษาแบบบูรณาการ จำนวน 1 รายงาน ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย

24 ปี 2552 ได้เทคโนโลยี - โปรแกรมการจัดกิจกรรม ในสถานศึกษาแบบบูรณา การเพื่อช่วยเหลือเด็กชอบ เล่นเกม www.themegallery.com โครงการพัฒนาโปรแกรมการจัดกิจกรรม การดูแลช่วยเหลือเด็กชอบเล่นเกมใน สถานศึกษาแบบบูรณาการ

25 กิจกรรมค่าเป้าหมาย 1. สัมมนาคณะทำงานและผู้เชี่ยวชาญทบทวนและจัดทำ โปรแกรมฯ 15 คน 2. สัมมนาวิพากษ์รูปแบบโปรแกรมฯ30 คน 3. จัดอบรมครูผู้เกี่ยวข้องในการจัดกิจกรรมตามโปรแกรมฯ100 คน 4. สนับสนุนโรงเรียนจัดกิจกรรมอบรมผู้ปกครอง30 คน 5. สนับสนุนโรงเรียนจัดกิจกรรมอบรมผู้ปกครอง15 คน 6. สนับสนุนการทำกิจกรรมทางเลือกสร้างสรรค์ 15 คน 7. สัมมนาสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโปรแกรมฯ 1 ครั้ง 8. จัดพิมพ์โปรแกรม 100 เล่ม 9. จ้างเหมาเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล 300 คน 3 ครั้ง www.themegallery.com ปี 2553 โครงการพัฒนาโปรแกรมการจัดกิจกรรมการดูแล ช่วยเหลือเด็กชอบเล่นเกมในสถานศึกษา แบบบูรณาการ

26 LOGO www.themegallery.com


ดาวน์โหลด ppt LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ 2553 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google