งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร

2 การวิเคราะห์งาน Job Analysis
การวิเคราะห์งาน หมายถึง กระบวนการที่ทำขึ้นเพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับ ลักษณะงานที่จะทำให้รู้ว่างานนั้นจะ ต้องใช้ความรู้ความสามารถ   ความชำนาญ และความรักผิดชอบอย่างไรจึงจะทำงานนั้นให้สำเร็จ LOGO Your site here

3 การวิเคราะห์งาน Job Analysis
การวิเคราะห์งาน ยังมีความหมายรวมไปถึงการวิเคราะห์เชิงปริมาณ การศึกษารายละเอียดลักษณะงานและการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหว  วิธีการปรับปรุงงานให้ดี ขึ้นและการวัดค่าของงาน LOGO Your site here

4 การวิเคราะห์ระบบงาน การวิเคราะห์งานเป็นกระบวนการของการกำหนดลักษณะหรือเนื่้อหา ของงานโดยการจัดเก็บและจัดการข้อมูลเกี่ยวข้องกับงาน การวิเคราะห์งาน ที่สมบูรณ์จะมีการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5 ปัจจัย ดังนี้ 1) งานทีต้องการจะทำให้บรรลุผลสำเร็จ 2) กิจกรรมที่จำเป็นจะต้องทำ หรือเป็นพฤติกรรมของลักษณะงานนั้นๆ 3) อุปกรณ์ เครื่องไม้ เครื่องมือที่จำเป็นจะต้องใช้ 4) ปัจจัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 5) ลักษณะส่วนบุคคลที่่จำเป็นสำหรับทำงานนั้นๆ หรือความสนใจพิเศษที่จะต้องมี LOGO Your site here

5 กระบวนการประเมินค่างาน
การประเมินค่างาน (Job Evaluation) หมายถึง กระบวนการ ซึ่งจัดทำขึ้นอย่างเป็นระบบเพื่อที่จะประเมินค่าหรือตีค่าของงานใด หนึ่งเปรียบเทียบกับงานอื่นๆ ในองค์การ เพื่อวัตถุประสงค์ของการ จ่ายค่าตอบแทนกับงานต่างๆ ซึ่งค่างานแตกต่างกัน LOGO Your site here

6 ขั้นตอนการจัดทำค่าจ้างเงินเดือน
แจ้งพนักงาน จัดทำ / ปรับโครงสร้างองค์การ การวิเคราะห์งาน (Job analysis จัดทำฌครงสร้างตำแหน่งงานเบื้องต้นแบบไม่เป็นทางการ จัดทำแบบสอบถามเพื่อใช้ในการเขียน JD เขียนบรรยายลักษณะงาน(JD) คุณสมบัติขั้นต่ำของผู้ปฏิบัติงานในแต่ละตำแหน่ง (JS) LOGO Your site here

7 เลือกปัจจัยที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ให้ความหมายปัจจัยและสำคัญของปัจจัย การตีค่างานในแต่ละตำแหน่ง การประเมินค่างาน (Job evaluation) จัดระดับตำแหน่งงาน จัดทำสำรวจค่าจ้างเงินเดือน จัดทำโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน ปรับค่าจ้างเงินเดือนให้สอดคล้องกับโครงการ LOGO Your site here

8 ประกาศให้พนักงานทราบว่าจะมีการประเมินค่างาน
อธิบายถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลงจากระบบที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน พนักงานต้องใช้ข้อมูลที่เป็นจริงและมากพอ การประเมินค่างาน เพื่อจะปรับโครงสร้างค่าจ้างเงินเดือน ผลการประเมินค่างาน ผลสรุปว่างานบางตำแหน่งอาจจะเลื่อนลำดับความสำคัญ หนังสือประกาศ ต้องแจ้งเหตุผลว่าประเมินค่างานเพื่ออะไร เช่น ประกาศค่างานมิใช่ประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินค่างานของระดับหนึ่งเทียบกับงานในระดับอื่นๆ การจัดระดับงาน เพื่อกำหนดค่าจ้างเงินเดือน กระบวนการที่เป็นการขจัดค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทน LOGO Your site here

9 ประกาศให้พนักงานทราบว่าจะมีการประเมินค่างาน
หนังสือประกาศ มิใช่เป็นการกระทำในสิ่งต่อไปนี้ ไม่ใช่เป็นการกำหนดปริมาณงาน ไม่ใช่เป็นเกณฑ์วัดความสามารถหรือประสิทธิภาพของพนักงาน ไม่ใช่เป็นการตัดทอนค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนใดๆ หนังสือประกาศต้องแจ้งให้พนักงานทราบว่าควรตอบคำถามในแบบสอบถามด้วยความเป็นจริง ให้ข้อมูลที่ละเอียด LOGO Your site here

10 โครงสร้างองค์การและการกำหนดหน้าที่ของตำแหน่งงาน
แนวคิดการกำหนดตำแหน่งงานในองค์การ คือ ตำแหน่งงานสายการผลิต ตำแหน่งงานสายสนับสนุน เช่น พนักงานวิเคราะห์สินเชื่อ ส่วนสายสนับสนุนมักจะใช้ชื่อตำแหน่งที่เป็นทั่วไป เช่น พนักงานบุคคล พนักงานบัญชี พนักงานการเงิน LOGO Your site here

11 แนวคิดการกำหนดตำแหน่งงานในองค์การ
ลักษณะแรก จะเป็นตำแหน่งที่สื่อถึงโครงสร้าง อำนาจ สายความก้าวหน้า ลำดับการบังคับบัญชา เช่น ผู้จัดการส่วน หัวหน้าแผนก พนักงาน ลูกจ้าง ลักษณะที่สอง ตำแหน่งงานประเภทนี้จะสื่อถึงสายอาชีพ บ่งบอกหน้าที่การงานรวมทั้งความชำนาญ เช่น ผู้จัดการส่วนบัญชีและการเงิน LOGO Your site here

12 โครงสร้างตำแหน่ง (position structure)
ตำแหน่งทางองค์การ (Corporate Title) ตำแหน่งงานตามหน้าที่ (Functional Title) ผู้อำนวยการฝ่าย ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี ผู้อำนวยการฝ่ายบุคคล ผู้จัดการส่วน ผู้จัดการส่วนบัญชี ผู้จัดการส่วนบุคคล ผู้จัดการแผนก ผู้จัดการแผนกบัญชี ผู้จัดการแผนกบุคคล พนักงาน พนักงานบัญชี พนักงานบุคคล LOGO Your site here

13 การออกแบบโครงสร้างองค์การ
สาระสำคัญของการออกแบบโครงการคือเครื่องมือที่จะช่วยให้วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ขององค์การบรรลุผลที่วางไว้ ดังนั้นถ้ากลยุทธ์ของหน่วยงานเปลี่ยน รูปแบบองค์การต้องเปลี่ยนตามความผิดพลาดทางการบริหารคือการยึดเอาโครงสร้างองค์การเป็นตัวตั้งและปรับกลยุทธ์ตาม LOGO Your site here

14 โครงสร้างองค์การ แนวคิดที่หนึ่ง แบบดั้งเดิม จัดโครงสร้างที่ให้ความสำคัญกับสายการบังคับบัญชา ให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลอย่างใกล้ชิด มีการตรวจสอบ ตรวจทานงาน จากผู้บังคับบัญชาเป็นลำดับขั้น แนวคิดที่สอง เป็นการจัดโครงสร้างองค์การที่ให้ความสำคัญกับภาระหน้าที่ เช่น ฝ่ายการเงินบัญชี ฝ่ายผลิต ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จากแนวคิดของ อดัม สมิธ (Adam Smith,1776) LOGO Your site here

15 แนวคิดที่สาม แบบสมัยใหม่ไม่ยึดติดกับแนวความคิดใด เช่น องค์การตามหน้าที่ องค์การแบบโครงการ องค์การแบบเมทริก องค์การตามประเภทลูกค้า องค์การแบบเครือข่ายหรือองค์การตามภูมิภาค LOGO Your site here

16 การออกแบบโครงสร้างองค์การฯ
โครงสร้างองค์การแบบสูงการออกแบบโครงสร้างองค์การ ( สมคิด บางโม, 2538) มีสิ่งหนึ่งที่ควรคำนึง คือ ความสูง และความกว้างของโครงสร้าง ถ้าโครงสร้างขององค์การมีการบังคับบัญชากันหลายชั้นหลายระดับ กระบวนการทำงานย่อมช้า แต่ถ้าโครงสร้างองค์การมีระดับการสั่งการน้อยกระบวนการทำงานย่อมรวดเร็วกว่า LOGO Your site here

17 ข้อดีของโครงสร้างแบบสูง 1. การบริหารงานใกล้ชิด 2. การควบคุมใกล้ชิด 3
ข้อดีของโครงสร้างแบบสูง  1.การบริหารงานใกล้ชิด  2.การควบคุมใกล้ชิด  3.การติดต่อสื่อสารรวดเร็วระหว่างหัวหน้าและลูกน้อง  4.งานมีคุณภาพเพราะอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ชำนาญการเฉพาะ  ข้อจำกัดของโครงสร้างแบบสูง  1.ค่าใช้สูงสำหรับหัวหน้าแต่ละระดับ  2.มีระดับการจัดการมาก  3.ระยะทางระหว่างระดับสูงถึงระดับต่ำห่างเกินไป  4. หัวหน้ามีแนวโน้มที่จะเกี่ยวข้องกับการทำงาน ของลูกน้องมากเกินไป LOGO Your site here

18 ข้อดีของโครงสร้างแบบกว้าง 1. ลดค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2
ข้อดีของโครงสร้างแบบกว้าง  1.ลดค่าใช้จ่ายในการบริหาร  2.ลูกน้องมีอิสระสูงในการทำงาน เนื่องจากหัวหน้ามีผู้ใต้บังคับบัญชาจำนวนมากจึงมีการควบคุมน้อย  ข้อจำกัดของโครงสร้างแบบกว้าง  1.ต้องการผู้บังคับบัญชาที่มีความสามารถมาก  2.ผู้บังคับบัญชาอาจจะควบคุมงานทุกอย่างได้ไม่ทั่วถึง LOGO Your site here

19 การออกแบบองค์การที่ยึดลักษณะของภาระหน้าที่
ตามแนวคิดของ อดัม สมิธ ผู้ถือหุ้น กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายผลิต ฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายการตลาด LOGO Your site here

20 โครงสร้างองค์กรในรูปเมทริกซ์ (Matrix Organization structure)
ผู้บริหารทั่วไป การตลาด การขาย การเงิน การผลิต บุคลากร ผู้จัดการโครงการที่1 ผู้จัดการโครงการที่2 เจ้าหน้าที่ คือการจัดองค์กรที่นำเอาสายงานหลัก กับโครงงานมาร่วม และใช้ทรัพยากรร่วมกันตาม ทำให้สายงานบังคับบัญชา และการสั่งการไม่ชัดเจน แต่อาจจะใช้ได้ดีในกรณีที่สถานการณ์ภายในที่มากระทบกับองค์กรที่ไม่คงที่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วเมื่อสภาพแวดล้อมเปลี่ยนไป องค์กรไม่สามารถปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมได้ ทำให้การทำงานล่าช้า จึงต้องมีการปรับองค์กรเป็นแบบเมทริกซ์ โดยแทรกอยู่ในโครงสร้างเดิม ลดความสัมพันธ์ของบุคคลตามสายการบังคับบัญชา โดยหัวหน้าโครงงานจะรับผิดชอบงาน แต่ไม่มีอำนาจพิจารณาความดีความชอบ เมื่อสิ้นสุดโครงงาน จะกลับเข้าหน่วยงานเดิมหรือสลายตัวไป มีประโยชน์มากในองค์กรขนาดใหญ่ เพราะทรัพยากรเริ่มจำกัด เจ้าหน้าที่ ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

21 การเตรียมแบบสอบถามเพื่อการวิเคราะห์งาน
ระบุว่าเป็นงานประจำ งานชั่วคราว ตามสัญญา ประสบการณ์กี่ปี การศึกษาขั้นต่ำที่จำเป็นต่อการทำงาน กิจกรรมที่ปฏิบัติ อะไรคือหัวใจของงานนี้ จะทำงานนี้ได้อย่างไร ความรับผิดชอบต่อเครื่องไม้เครื่องมือ ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ของบริษัท ความรับผิดชอบในความปลอดภัย LOGO Your site here

22 ลักษณะเฉพาะของตำแหน่งงาน
การกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ได้แก่ พื้นฐานการศึกษา ประสบการณ์ในงาน ประสบการณ์ในตำแหน่งงาน ทักษะความรู้ความสามารถพิเศษ ตลอดจนการฝึกอบรม เพื่อเป็นประโยชน์ในการสรรหา คัดเลือก การวิเคราะห์งาน การประเมินค่างาน จนถึงพิจารณาการเลื่อนขั้นเลื่อนตำแหน่ง LOGO Your site here

23 คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะสมกับตำแหน่ง
มีประสบการณ์ในการบริหารโรงงานมาแล้วไม่ต่ำกว่า 10 ปีหรือครองตำแหน้งผู้ช่วยผู้จัดการโรงงานมาไม่น้อยกว่า 3 – 5 ปี สามารถติดต่อสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษได้ดีมาก มีวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรีทางวิศวกรรมอุตสาหการ การบริหาร สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้ดี สามารถทำงานภายใต้ภาวะกดดันได้ เช่น เสียงดัง ทำงานวันหยุด เดินทางบ่อย เจรจาสร้างสัมพันธ์กับชุมชน LOGO Your site here

24 ข้อสังเกตุ ในการเขียนคำบรรยายรายละเอียดลักษระงานจะประกอบด้วย
หัวข้อบ่งบอกข้อมูลพื้นฐาน ความรับผิดชอบโดยทั่วไป การบังคับบัญชาและการกำกับดูแล กระบวนการปฏิบัติงาน หน้าที่หลัก ควรเขียนให้เห็นภาพรวมของตำแหน่งงานนั้นทุกมิติ เป็นที่เข้าใจในหมู่นักบริหารทรัพยากรมนุษย์ ลักษณะงาน คุณสมบัติของผู้ที่เหมาะสมกับตำแหน่งงาน LOGO Your site here

25 ทำให้ทราบความต้องการในการฝึกอบรม
เป็นเครื่องมือช่วยอธิบายชี้แนะให้พนักงานทราบว่าตนเองมีความเหมาะสมกับตำแหน่งงาน ทำให้นายจ้างหรือผู้ประกอบการมีความมั่นใจได้ว่าการจ่ายค่าจ้างเงินเดือนที่เหมาะสมและเป็นธรรม ช่วยทบทวนในการเขียนคำบรรยายรายละเอียดลักษณะงาน LOGO Your site here

26 Thank you!


ดาวน์โหลด ppt การประเมินค่างาน บทที่ 3. ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google