สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
หอมแดง.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
โครเมี่ยม (Cr).
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
สัญญาก่อสร้าง.
ไฟฟ้า.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ดิน สมบัติ ของดิน ลักษณะ ของดิน ประโยชน์ ของดิน ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด สถานการณ์ปัญหาที่ 2.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
ไฟฟ้า.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
ประเด็นในรายงานของการเก็บข้อมูล
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ขดลวดพยุงสายยาง.
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แรงาน (Labor) แรงงานเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด ของครัวเรือนในชนบท ผลิตสินค้าเกษตรบนไร่นาตนเอง ผลิตสินค้าอื่นที่ไม่ใช่สินค้าเกษตร ทำกิจกรรมอื่นในครัวเรือน ( หุงหา อาหาร เลี้ยงเด็ก ) 1. ใช้ประโยชน์ใน ครัวเรือน

ประโยชน์ของแรงงานใน ชนบท เป็นลูกจ้างหรือคนงานในไร่น ( แรงงานในภาคเกษตร ) เป็นลูกจ้างหรือคนงานนอกไร่นา ( อุตสาหกรรม บริการ ) 2. ขายบริการแรงงาน ให้แก่ผู้อื่น ผลิตสินค้าเกษตรบนไร่นาตนเอง ผลิตสินค้าอื่นที่ไม่ใช่สินค้าเกษตร ทำกิจกรรมอื่นในครัวเรือน ( หุงหา อาหาร เลี้ยงเด็ก ) 1. ใช้ประโยชน์ใน ครัวเรือน

ตลาดแรงงานในภาค เกษตร ผลของการขาย บริการแรงงาน ก่อให้เกิด ตลาดแรงงานในภาคเกษตร เพราะลำพังปัจจัยที่ดินจะไม่ สามารถสร้างความสมดุลใน ความแตกต่างระหว่างที่ดินกับ แรงงานที่เกษตรกรแต่ละ ครัวเรือนมีอยู่ได้

ตลาดแรงงานในภาค เกษตร เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็ก หรือไม่มีที่ดินทำกิน จะเป็นฝ่าย สร้างอุปทานให้แก่เกษตรกรที่มี ที่ดินขนาดใหญ่ เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดใหญ่ จะ สร้างอุปสงค์ที่มีต่อแรงงานของ เกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็กหรือ ไร้ที่ดินทำกิน

สถาบันตลาดแรงงานในภาค เกษตรจึงช่วยจัดสรรทรัพยากรให้เกิด ประโยชน์สูงสุดโดยส่งสัญญาณกี่ยว กับความหามาได้ยากของทรัพยากร ทั้งในแง่มิติของเวลาและสถานที่ - บางเวลา จะขาดแคลนแรงงาน เช่น หน้าหว่านดำ และเก็บเกี่ยว - บางสถานที่ขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากมีแรงงานน้อย หรือมีความ ต้องการแรงงานมาก ตลาดแรงงานในภาค เกษตร

เนื่องจากแรงงานเป็นปัจจัยที่ สำคัญในการผลิต ดังนั้น สถาบัน ตลาดแรงงานในภาคเกษตรย่อมมี ความสำคัญสำหรับเป็นฐานในการ สร้างความเจริญเติบโตให้แก่ภาค เกษตรกรรม ตลาดแรงงานในภาค เกษตร

รูปแบบของการจ้าง แรงงานในภาคเกษตร 1. การจ้างแรงงานชั่วคราว (Casual or temporary labors) อาจจ้างเป็นรายวันหรือในระยะเวลาสั้นๆ เช่น เฉพาะช่วงหว่าไถ ปักดำ หรือช่วง เก็บเกี่ยวผลผลิต ซึ่งมีอุปสงค์สำหรับ แรงงานค่อนข้างสูง แรงงานประเภท ชั่วคราวมักได้รับค่าจ้างทั้งที่เป็นเงินและ สิ่งของ ( เช่น อาหาร ผลผลิต ) การจ้างแรงงานในภาคเกษตรอาจ แบ่งออกได้เป็นสองรูปแบบ ส่วนการจ่ายค่าจ้างอาจจ่ายเป็น รายวันหรือรายชิ้น

รูปแบบของการจ้าง แรงงานในภาคเกษตร 2. การจ้างแรงงานถาวร (permanent labors) เป็นการจ้างแรงงานในช่วงเวลาที่ ยาวนานขึ้น เช่น เป็นรายเดือนหรือรายปี ส่วนมากมัก เป็นแรงงานที่มีฝีมือ ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมงานหรือมีความ ชำนาญเฉพาะด้าน เช่น นักบริหาร นักเคมี สัตวบาล เป็นต้น

แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร ในปีเพาะปลูก 56/57 ประเทศ ไทย มีประชากรแรงงานภาค การเกษตรที่มีอายุระหว่าง ปีจํานวน ล้านคน ซึ่งมี แนวโน้มลดลง จากร้อยละ ในช่วง แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8 เป็นร้อยละ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับ ที่ 10

แรงงานในภาคเกษตร ( ล้านคน ) 53/5454/55 55/56 56/

แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร เนื่องจาก - แรงงานภาคการเกษตรมีการ เคลื่อนย้ายสู่ภาคอุตสาหกรรม - แรงงานที่มีอยู่ในปัจจุบันเริ่มเข้าสู่ สังคมผู้สูงอายุมากขึ้น - การขาดสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานมีรายได้ไม่แน่นอน เป็นงาน หนัก และลําบาก ทําให้คนรุ่นใหม่ ขาดแรงจูงใจในการเข้าสู่ภาค การเกษตร

แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร ผลดังกล่าว ทำให้เกิดภาวะขาดแคลนแรงงานใน ภาคเกษตร การขาดแคลนแรงงานในภาค การเกษตรมีลักษณะเป็นการขาด แคลนเฉพาะช่วงฤดูกาลเพาะปลูก และเก็บเก็บเกี่ยว เช่น ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีแรงงานไม่ เพียงพอหรือ มีการขาดแคลน แรงงาน มีความต้องการจ้างแรงงานเพียง บางช่วงฤดูการผลิต

แนวโน้มตลาดแรงงานใน ภาคเกษตร เกษตรกรจึงมีความจําเป็นต้อง ใช้แรงงานรับจ้าง โดยส่วนใหญ่เป็น การจ้างเหมาแรงงาน ผ่านตัวแทน จัดหาแรงงานในหมู่บ้านและมีการ กําหนดเวลาล่วงหน้า ซึ่งมักเป็น แรงงานต่างด้าว รวมถึงในบางครั้งมี การแย่งชิงแรงงานในพื้นที่ โดยเฉพาะแรงงานที่มีทักษะ นอกจากนั้น ยังพบว่าส่วนใหญ่แล้ว แรงงานภาคการเกษตรเป็นแรงงานนอก ระบบที่ไม่ได้รับความคุ้มครอง หรือไม่มี หลักประกันทางสังคมจากการทํางาน เช่นเดียวกับแรงงานในระบบ