อบรมการพัฒนาโปรแกรมระบบบริหาร จัดการฐานข้อมูลการเงินออนไลน์ โครงการยุติปัญหาวัณโรค และเอดส์ รอบ NFM วันที่ ตุลาคม 2558 เวลา 09.00– น. ณ ห้องประชุมบอลรูม 1 ชั้น 4 โรงแรม ริชมอนด์ อ. เมือง จ. นนทบุรี นางบุษบา ตันติศักดิ์ สำนักงานบริหารโครงการกองทุน โลก
วัตถุประสงค์การอบรม เพื่อให้การบันทึกค่าใช้จ่ายของกิจกรรมต่างๆ พร้อมเหตุผลของการใช้จ่ายเงินทุนของ สคร. และ สสจ. ได้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็น ปัจจุบัน ทันเวลากับรอบรายงาน โดยผ่าน ระบบ online เพื่อให้หน่วยงานรับทุนรองภาครัฐ ติดตาม การใช้จ่ายเงินทุนของ สคร. และ สสจ. ได้ ถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน – ติดตามตรวจสอบการยืมคืนเงินของลูกหนี้ ในแต่ละกิจกรรม เพื่อให้การจัดทำรายงานการเงินที่เป็น มาตรฐาน รูปแบบ และแนวทางเดียวกันทั้งใน ระดับหน่วยงานผู้รับทุนรอง สคร. และ สสจ.
หน่วยงานที่ดูแลการใช้โปรแกรม 1. สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก (PR-DDC) BIOPHICs ทำหน้าที่ Maintenance ระบบ Financial online 2. หน่วยงานผู้รับทุนรอง (SRs) สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ (BATS) สำนักวัณโรค (BTB) ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหา เอดส์แห่งชาติ (NAMC)
หน่วยงานที่ใช้โปรแกรม หน่วยงานผู้รับทุนย่อย (SSRs) หรือ หน่วยปฏิบัติงานในพื้นที่ (IAs) สำนักระบาดวิทยา (BOE) กรมราชทัณฑ์ (DOC) สำนักงานป้องกันควบคุมโรค 1-13 (ODPC 1-13) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร (38 จังหวัด )
การบันทึกค่าใช้จ่าย 1. กิจกรรมการทำงานมี 3 ลักษณะ – กิจกรรมที่เป็นการทำงานโดย SR อย่างเดียว – กิจกรรมที่เป็นการทำงานโดย SR ร่วมกับ สสจ. หรือ สคร. – กิจกรรมที่เป็นการทำงานโดย สสจ. หรือ สคร. 2. การบันทึกกิจกรรมและค่าใช้จ่าย บันทึกเฉพาะ – กิจกรรมที่เป็นการทำงานโดย SR ร่วมกับ สสจ. หรือ สคร. – กิจกรรมที่เป็นการทำงานโดย สสจ. หรือ สคร. 3. สำหรับกิจกรรมที่เป็นการทำงานโดย SR อย่าง เดียว – ให้ SR บันทึกการใช้จ่ายเงินเป็นภาพรวมของ แต่ละกิจกรรม โดยไม่บันทึกแต่ละรายการ ย่อย – จะทำความตกลงในการประชุมติดตาม ความก้าวหน้ากับ SR ไตรมาสที่ 4
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. มีโปรแกรมระบบบริหารจัดการฐานข้อมูล ด้านการเงิน Online ที่สามารถบันทึกข้อมูล การเงินได้ถูกต้องน่าเชื่อถือ ครบถ้วน เป็น ปัจจุบัน ใช้งานได้สะดวกผ่านระบบ Online และเป็นไปตามแนวทางที่กองทุนโลก กำหนด 2. สามารถพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทำงานได้มากขึ้นและจัดทำรายงานการเงิน ในระดับ สคร. และ สสจ. และ หน่วยงาน ผู้รับทุนรอง ระหว่างรอบระยะเวลาบัญชี วันที่ 1 มกราคม 2558 ถึง 31 ธันวาคม 2559
ขอระงับการใช้ชุดตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีชนิด รวดเร็ว First Response และ SD Bioline ภายใต้การสนับสนุนจากโครงการ กองทุนโลก (Global Fund) 1. ผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพเบื้องต้นของ – ชุดตรวจเสริมที่ 1 First response HIV 1-2.O CARD TEST น่าจะมีประเด็นเรื่องการให้ผลลบ ปลอม (false negative) สูงกว่าระดับที่ยอมรับได้ – ชุดตรวจเสริมที่ 2 SD Bioline HIV- 1/2 3.0 (multi) มีประเด็นเรื่อง เอกสารกำกับผลิตภัณฑ์ที่ ไม่ตรงกับเอกสารที่ได้รับการขึ้นทะเบียนในประเทศ ไทย 2. ตาม Algorithm ชุดตรวจ หากชุดที่ 1 มีปฏิกิริยา ทำ การตรวจที่ 2 หากไม่มีปฏิกิริยา จะรายงานผลไม่ ชัดเจน นัดตรวจอีกครั้ง 2 สัปดาห์ 3 เดือน และ 6 เดือน หากยังคงมีผลไม่ชัดเจน ให้รายงานผลลบ นั่น คือ – กรณีที่ First Respond มีผล false negative ก็จะ ไม่มีปฏิกิริยา การรายงานจึงได้ผลไม่ชัดเจน จะ รายงานผลบวกได้ ก็ต่อเมื่อต้องมีปฏิกิริยาทั้งสาม ชุดตรวจ
ขอระงับการใช้ชุดตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวีชนิด รวดเร็ว First Response และ SD Bioline ภายใต้การสนับสนุนจากโครงการ กองทุนโลก (Global Fund) 3. การออก Mobile ใช้ชุดตรวจ Determine หากมีปฏิกิริยาให้ส่งต่อ รพ. กรณีคนไทยจะมีสิทธิ์ในการตรวจ VCT ตามสิทธิการรักษา – แต่จะมีค่าใช้จ่ายในกรณี Migrant ให้ยืมชุดตรวจ หรือ สนับสนุนค่าตรวจ HIV 4. การเบิกชุดตรวจให้เบิกเฉพาะชุดตรวจ Determine แต่ไม่ให้เบิก ชุด First Respond และ SD Bioline เพิ่ม 5. สำหรับชุด First Respond และ SD Bioline ยังคงให้เก็บในพื้นที่ ก่อน จนกว่าจะมีความชัดเจนจากการตรวจทดสอบ EQA ซ้ำ ที่มีการ เพิ่มจำนวนชุดตรวจ – กำลังตกลงกับ GF เพื่อขอซื้อชุดตรวจเสริมที่ 1 และ 2 ที่ขึ้น ทะเบียนในประเทศ ทดแทนชุด First Respond และ SD Bioline ที่นำเข้าโดยการซื้อผ่านระบบ PPM ของ GF – ความชัดเจนจากการประชุมผู้เชี่ยวชาญในสัปดาห์ที่ 2 พย. 6. สำหรับกิจกรรมการอบรม HTC-SDR ในจังหวัดยังคงให้อบรม โดยใช้ทั้งสามชุดตรวจ หรือยืม 3 ชุดตรวจของ รพ. ในการฝึกปฏิบัติ ไป เพื่อสร้างทักษะและความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรม