กรมชลประทาน ศูนย์ ความรู้ กลาง
Website :
เป็นหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน้าที่จัดให้ได้มาซึ่งน้ำเพื่อ กักเก็บรักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือ แบ่งน้ำเพื่อการเกษตร การพลังงาน การ สาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายรวมถึงการป้องกันความเสียหายอัน เกิดจากน้ำ กับการคมนาคมทางน้ำซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน
วิสัยทัศน์ "กรมชลประทานมุ่งจัดการความรู้สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้" วัฒนธรรมการจัดการความรู้ 1. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 2. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 4. คิดริเริ่มสร้างสรรค์
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (Transition and Behavior) ผู้บริหารพูดให้ความรู้ หรือให้ความสำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้ในการประชุมใหญ่ ของหน่วยงาน ผู้บริหารแต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ (KM Team) ครอบคลุมบุคลากรด้านต่าง ๆ ตาม ภารกิจของหน่วยงาน
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ต่อ) (Transition and Behavior Management) ผู้บริหารพูดถึงการจัดการความรู้ในที่ประชุมบ่อยครั้ง และ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องการจัดการความรู้ สนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็นในการดำเนินการกิจกรรมการ จัดการความรู้ KM Team ชี้แจงขั้นตอน/วิธีการดำเนินการในกิจกรรมการ จัดการความรู้ให้ผู้ปฏิบัติงานทราบและเข้าใจ
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การสื่อสาร (Communication)มีการสื่อสารเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในองค์กรผ่าน ช่องทางการสื่อสารต่างๆ เช่น เว็ปไซต์ (KM Website) ข่าวประชาสัมพันธ์ Facebook สื่อภาพกิจกรรม การประชุม คลังความรู้สำนัก/กอง จัดอบรม
ตัวอย่างข่าวประชาสัมพันธ์
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม กระบวนการและเครื่องมือ (Process and Tools) การพัฒนาคลังความรู้ ในระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ(IT)มาเป็นเครื่องมือช่วยให้การ เข้าถึงความรู้สะดวก สามารถดึงความรู้ออกมา ใช้งานได้รวดเร็ว และใช้ในการจัดเก็บความรู้
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม กระบวนการและเครื่องมือ (ต่อ) (Process and Tools) KM Team พิจารณาร่วมกับหัวหน้างานนำเครื่องมือการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เช่น ชุมชนนักปฏิบัติ(CoP) การทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Reviews :AAR) การสรุปบทเรียน (Lessons Learned) แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ เป็นเลิศ (Best Practice Exchange) มาใช้ในการแบ่งปันความรู้ในหน่วยงาน
ตัวอย่าง เครื่องมือค้นหาข้อมูล
ชุมชนนักปฏิบัติ(CoP)
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การฝึกอบรมและการเรียนรู้ (Learning) จัดฝึกอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) และกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง(Change Management Process) จัดฝึกอบรม หลักสูตรการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ จัดเก็บความรู้เข้าสู่คลังความรู้ จัดฝึกอบรมและปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบบชุมชนนักปฏิบัติ (CoP)
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การฝึกอบรมและการเรียนรู้ (ต่อ) (Learning) จัดฝึกอบรมพัฒนาทักษะการถ่ายทอดความรู้ การเป็นวิทยากร จัดฝึกอบรมวิธีการถอดความรู้ จัดไปดูงานองค์กรที่ประสบความสำเร็จในด้าน การจัดการความรู้ (KM Best Practice)
ภาพกิจกรรม ศึกษาดูงาน Best Practices สชป.3 และ สชป.4
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การยกย่องชมเชยและให้รางวัล (Recognition and Rewards) มอบรางวัลผลงานของบุคคลหรือทีมงานผลงานสร้างสรรค์และ เป็นแบบอย่างที่ดี ของสำนัก/กอง มอบรางวัลโครงการจัดการความรู้ดีเด่นของสำนักชลประทาน มอบรางวัลบุคคลดีเด่นในการจัดการความรู้ มอบประกาศนียบัตรและของที่ระลึกให้ผู้ที่ร่วมแบ่งปันความรู้ สม่ำเสมอ
ภาพบรรยากาศการมอบรางวัลการจัดการความรู้ ดีเด่น ปี2556
กระบวนการจัดการความรู้ของกรมชลประทาน กระบวนการตัวอย่างของแผนและกิจกรรม การวัดผล (Measurement) วัดผลการการร่วมกิจกรรมการจัดการความรู้ ของหน่วยงานภายใน สำนัก/กองเพิ่มมากขึ้น วัดผลสำเร็จในการดำเนินการตามแผนการจัดการความรู้ประจำปี ราย กิจกรรมและภาพรวมเพื่อสรุปบทเรียนและหาแนวทางปรับปรุงพัฒนา กระบวนการ วัดผลจำนวนผู้เข้าไปใช้ความรู้ในคลังความรู้ของสำนัก/กองที่เพิ่มมาก ขึ้น วัดผลจากสถิติผู้เข้าชมเว็บไซต์
ตัวอย่าง การวัดผลจากสถิติเข้าชมเว็บไซต์ และจำนวนผู้เข้าไปใช้ความรู้ในคลังความรู้ของสำนัก/กอง
มีการจัดเก็บข้อมูล แบบแผน และวิธีการในการจัดการความรู้ไว้ในองค์กร ทำให้ บุคลากรหรือบุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กร สามารถนำความรู้ไปใช้ใน การศึกษาเรียนรู้ต่อไป ได้รับความรู้ในการบริหารจัดการน้ำของกรมชลประทาน ว่ามีวิธีการหรือ กระบวนการอย่างไร ประโยชน์จากการศึกษาเว็บไซต์
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ควรเปลี่ยนวิธีการนำเสนอเอกสารจากการแสกนเอกสารจริง เป็นเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ มีความยุ่งยากในการเข้าถึงข้อมูล ควรจะดึงข้อมูลจากเว็บไซต์เก่าเอามาไว้ที่เว็บไซต์ใหม่ให้หมด
นายธนเดช เทศทับ รหัสนิสิต นายณัฐพล ปีหมอก รหัสนิสิต จัดทำโดย