ณ. ห้องประชุมอาคาร NEWMASIP สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรม ชลประทาน ( ปากเกร็ด ) จังหวัดนนทบุรี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
ความเป็นมาของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ความหมายของการศึกษาความเป็นไป ได้ของโครงการ ขอบข่ายการศึกษาความเป็นไปได้ของ โครงการ การประเมินโครงการและการจัดลำดับ.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
บัญชี อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต นายยงยุทธ พันตารักษ์ พัฒนาการอำเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ความหมาย และ คำจำกัดความของคำว่า “ รัฐประศาสนศาสตร์ “
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ณ. ห้องประชุมอาคาร NEWMASIP สถาบันพัฒนาการชลประทาน กรม ชลประทาน ( ปากเกร็ด ) จังหวัดนนทบุรี

โดย นายอาทร สุทธิกาญจน์ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐาน วางโครงการ 24 มีนาคม น.

มาตรฐาน หมายถึง สิ่งที่ถือเอามาเป็น เกณฑ์ที่รองรับกันทั่วไป เช่น กฎ ระเบียบ แนวทางปฏิบัติ เพื่อให้เป็นหลักเกณฑ์ใช้กัน ทั่วไปจนเป็น ปกติวิสัย โดยมุ่งให้บรรลุถึง ความสำเร็จสูงสุดตามความข้อกำหนดที่วาง ไว้ ( จากคู่มือ การปฏิบัติตามข้อบังคับกรมชลประทาน ว่า ด้วย จรรยาข้าราชการ กรมชลประทาน พ. ศ.2553)

โครงการ หมายถึง : 1. กิจกรรมหรืองานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากร 2. เป็นกิจกรรมที่ทำขึ้นเพื่อหวังผลประโยชน์ตอบ แทนทั้งทางตรงและทางอ้อม 3. เป็นกิจกรรมที่สามารถจะวิเคราะห์ – วางแผน และนำไปปฏิบัติได้ 4. เป็นกิจกรรมที่สามารถดำเนินการบริหารได้โดย อิสระ 5. เป็นกิจกรรมที่มีการกำหนดจุดเริ่มต้นและ จุดสิ้นสุดไว้ 6. เป็นกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อให้บรรลุถึง วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้

โครงการต่างๆ โดยทั่วไปอาจจำแนกออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ 1. โครงการประเภทหวังผลกำไร (Profit making project) 2. โครงการประเภทไม่หวังผลกำไร (Non – Profit masking project)

การวางโครงการ หมายถึง การนำทรัพยากรธรรมชาติที่มี อยู่อย่างจำกัดมาใช้อย่างฉลาด ระมัดระวัง โดยมีการวางแผน ไว้ล่วงหน้า และมีการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง การวางโครงการ เป็น ขั้นตอน ที่สำคัญที่สุดในการ ทำงานเพราะเป็นขั้นที่ต้องกำหนดนโยบายวัตถุประสงค์และ วิธีการปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายรวมตาม แผนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การวางโครงการ จะช่วยให้การทำงานดำเนินไปอย่างมี ระบบ (Systematic) สามารถควบคุมการดำเนินงานได้ทุก ขั้นตอน ซึ่งจะช่วยให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ได้โดย รวดเร็ว

การวางโครงการ เป็นการวางแผน เพื่อผลประโยชน์ ในอนาคตเพื่อให้ผู้ตัดสินใจสามารถจะตัดสินใจได้ใน ปัจจุบันว่าโครงการใดควรดำเนินการ โครงการใดควร ชะลอไว้ก่อน หรือ โครงการใดควรระงับ กล่าวโดยสรุป การวางโครงการก็คือการศึกษา รายละเอียดและการจัดทำรายงานความเหมาะสม (Feasibility Study) ของโครงการนั้นเอง

การศึกษาพัฒนาแหล่งน้ำเบื้องต้น (Desk Study)- เป็น การศึกษาพิจารณาเบื้องต้น เพื่อตอบสนองแผนการพัฒนา ประเทศอย่างบูรณาการ และ แผนการใช้ที่ดิน โดยจะพิจารณาชี้ ประเด็นปัญหาของพื้นที่ พิจารณากิจกรรมที่เป็นความต้องการ น้ำ การตรวจสอบขั้นต้นของศักยภาพแหล่งน้ำ พิจารณาสร้าง ทางเลือกที่ไม่เหมาะสมออก การศึกษาโครงการเบื้องต้น (Reconnaissance Study)- การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพิจารณา ตรวจสอบความเป็นไป ได้เบื้องต้นทางวิศวกรรมของโครงการที่ได้จากการศึกษา แผนพัฒนาลุ่มน้ำในขั้นต้น (Desk Study) หากโครงการมีความ เป็นไปได้ จะใช้ผลจากการศึกษานี้ในการกำหนดขอบเขตของ การสำรวจด้านต่างๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการศึกษา แผนพัฒนาลุ่มน้ำในระดับต่อไป

การศึกษาแนวทางพัฒนาลุ่มน้ำ (Preliminary Study) - เป็น การวางแผนพัฒนาลุ่มน้ำที่มีรายละเอียดเพิ่มขึ้นจากการศึกษา ในระดับ Desk Study โดยมีผลการสำรวจที่ได้รับการศึกษา Reconnaissance Study เพิ่มเติม ส่งผลให้การตรวจสอบและ คัดเลือกโครงการสามารถทำได้ละเอียดขึ้น ในขั้นตอนนี้ควรมี การดำเนินการในเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน ให้ประชาชน เข้าใจโครงการ หากประสบความสำเร็จ จะมีผลทำให้ดำเนินการ ในขั้นตอนต่อไปราบรื่น การศึกษาวางโครงการ (Pre-feasibility Study)- เป็น การศึกษาวางแผนพัฒนาโครงการ โดยมีรายละเอียดใน การศึกษาเพิ่มขึ้นจากระดับ Reconnaissance Study การศึกษาในขั้นตอนนี้ จะเน้นรายละเอียดทางวิศวกรรม และการ วิเคราะห์ความเหมาะสมของโครงการทางด้านเศรษฐศาสตร์

การศึกษาแผนพัฒนาลุ่มน้ำ (Comprehensive Study)- เป็น การศึกษาแผนพัฒนาลุ่มน้ำเต็มรูปแบบอย่างบูรณาการ โดยมี ความต้องการน้ำที่ชัดเจนทั้งในเชิงปริมาณ สถานที่ และเวลา รวมทั้ง มีเป้าหมายการบรรเทาอุทกภัยที่ชัดเจน การศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study)- เป็นการศึกษา วางแผนพัฒนาโครงการเต็มรูปแบบ ทั้งด้านเศรษฐกิจสังคม วิศวกรรม สิ่งแวดล้อม และเศรษฐศาสตร์ การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผล - เป็นการศึกษาเพื่อติดตามประเมินผล โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ แต่ละโครงการ ว่าได้บรรลุผลตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่

คำอธิบาย : ในภาพเป็น แนวนอน