KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

กองคลัง ประเด็นยุทธศาสตร์กรมฯ ยุทธศาสตร์กองคลัง
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับ การประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา ๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับ การประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา ๓.
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
1 กรอบการประเมินผลตัวชี้วัด กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสำหรับส่วนราชการระดับกรม ปีงบประมาณ พ.ศ
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
แผนยุทธศาสตร์ฯ ด้านทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กลุ่มงานทรัพยากรบุคคล สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตราด.
“ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ของพนักงานส่วน ท้องถิ่น ” ในระบบจำแนก ตำแหน่งเป็นประเภท ตามลักษณะงาน จัดทำโดย ฝ่ายส่งเสริมและ พัฒนาบุคลากร กองการเจ้าหน้าที่
LOGO “ Add your company slogan ” การจัดการองค์ความรู้ (KM) เรื่อง เส้นทางก้าวหน้าในสาย งาน (Career Path) ของกรม ส่งเสริมสหกรณ์ การจัดการองค์ความรู้ (KM)
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
PMQA Organization ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ ปีงบประมาณ พ.ศ น้ำหนัก : ร้อยละ 20 ตัวชี้วัด 14 การพัฒนาคุณภาพการ บริหารจัดการภาครัฐ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 32 คะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการดำเนินงานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลของหน่วยงาน (HR Scorecard) โดย นายชัยณรงค์ บุรินทร์กุล.
แนวทางการดำเนินงานและการจัดทำรายงานผล การปฏิบัติราชการตามคำรับรองปี
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การดำเนินงานต่อไป.
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
PMQA หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่

ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร แบ่งออกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย 8.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำรายงานลักษณะสำคัญขององค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ( กพร. กปส.) 8.2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสาคัญต่อความพึงพอใจในการ พัฒนาบุคลากร น้ำหนัก : ร้อยละ 1.5 (กกจ.) 8.3 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก : ร้อยละ1.5 (กกจ.)

ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร แบ่งออกเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย 10.1 ส่วนต่าง ระหว่าง ความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจในการ พัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ ๑.๕ 10.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรม องค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ ๑.๕

เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดที่ 8.2 และ 10.1 สูตรคำนวณคะแนน เป็นการนำค่าเฉลี่ยของผลสำรวจส่วนต่างระหว่าง ความเห็นและความสำคัญ (GAP) ครั้งที่ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ ของทุกส่วนราชการ (ค่าเฉลี่ยกลาง) มากำหนดเป็นเกณฑ์การให้ คะแนน โดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 : ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจ ของบุคลากรภายในองค์การ (GAP) ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ ค่าเฉลี่ยกลาง กรณีที่ 2 : ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจ ของบุคลากรภายในองค์การ (GAP) ครั้งที่ 1 มากกว่าค่าเฉลี่ยกลาง

เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดที่ 8.3 และ 10.2 ระดับ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1จัดส่งแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ แผนพัฒนาฯ ไม่ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และขาดความ สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 3แผนพัฒนาฯ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม แต่ไม่สอดคล้องกับ ข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ หรือไม่ครบถ้วนตามประเด็นใน แบบฟอร์ม แต่สอดคล้องกับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 4แผนพัฒนาฯ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้อง กับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ 5แผนพัฒนาฯ ครบถ้วนตามประเด็นในแบบฟอร์ม และสอดคล้อง กับข้อมูลปัจจัยนำเข้าที่ใช้ในการวิเคราะห์ และผลการสำรวจครั้ง ที่ 2

ผลสำรวจออนไลน์ ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 17 ธ.ค.2555 – 4 ม.ค ผลการสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร - คะแนนเฉลี่ยภาพรวมของ กปส. คือ 2 -คะแนนเฉลี่ยกลาง คือ 1.7 ผลการสำรวจความพึงพอใจในการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ - คะแนนเฉลี่ยภาพรวมของ กปส. คือ 1.4 -คะแนนเฉลี่ยกลาง คือ 1.2  กปส. จัดอยู่ในกรณีที่ 2 เนื่องจากส่วนต่าง(GAP) สูงกว่าค่าเฉลี่ยกลาง

การจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ  ตั้งคณะทำงาน  วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยนำเข้า เพื่อเสนอประกอบการพิจารณาของ คณะทำงาน  จัดประชุมคณะทำงานพิจารณาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรและ ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556  จัดทำแผนพัฒนาตามมติที่ประชุม เสนอ อปส.ลงนาม ส่ง สำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2556

ข้อคำถามที่เลือกมาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์กร KPI 8 : 3. ข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่าการเลื่อนระดับและการโยกย้ายบุคลากรตั้งอยู่บน พื้นฐานของหลัก ความรู้ความสามารถ และผลงาน gap ข้าพเจ้ามีความพึงพอใจต่อความก้าวหน้าในสายงานของตนเอง gap ผู้บังคับบัญชา /หัวหน้างานมีบทบาทในการส่งเสริมและพัฒนาให้ข้าพเจ้า ปฏิบัติงานได้ดีขึ้น เช่น การสอนงาน (Coaching) เป็นต้น gap ข้าพเจ้าได้รับการพัฒนาความรู้ ทักษะ ตามความเหมาะสม โดยพิจารณา จากความต้องการและผลประเมินการปฏิบัติราชการ gap 1.9 KPI 10 : 19. ผู้บริหาร / ผู้บังคับบัญชา เปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นต่อการปฏิบัติงานได้อย่างมีอิสระเพื่อการพัฒนาองค์การให้ดีขึ้น gap ปริมาณงานที่ข้าพเจ้าได้รับมอบหมาย มีความสมดุลกับเวลาที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน gap ส่วนราชการของข้าพเจ้ามีการให้รางวัล หรือยกย่องชมเชยบุคลากรที่ ทุ่มเทให้แก่องค์การอย่างเหมาะสม gap 2.1

เรื่องที่ขอความร่วมมือสำนัก / กอง และหน่วยงานต่างๆ เวียนแจ้งให้บุคลากรในสังกัดทราบถึงรายละเอียดตัวชี้วัด ผลการสำรวจ ออนไลน์ครั้งที่ ๑ และค่าเฉลี่ยกลาง รวมถึงแผนพัฒนาบุคลากรและ แผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ. ๒๕๕๖ ดำเนินการตามแผนพัฒนาบุคลากรและแผนพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรม องค์การสู่การปฏิบัติ ในกิจกรรมที่ระบุว่าหน่วยงานของท่านเกี่ยวข้อง ซึ่งจะมี ผลทำให้ส่วนต่าง gap ในการตอบแบบสำรวจออนไลน์ ครั้งที่ ๒ ลดลง แจ้งผู้ตอบแบบสำรวจออนไลน์ ทราบกำหนดวันตอบแบบสำรวจออนไลน์ ครั้งที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๑๖ - ๓๐ ก. ย. ๒๕๕๖

ขอบคุณค่ะ