แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
Advertisements

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๑๕ ( เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท ) ปี การศึกษา ๒๕๕๙ ดร. กัมพล ไชยนันท์ ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556 วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น องค์กรหลักขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ประธานกลุ่ม:พ.อ.กิตติศักดิ์ ดวงกลาง สมาชิก:ผู้แทนจาก สขว.กอ.รมน., ศปป.1 กอ.รมน., ศปป.6 กอ.รมน., กอ.รมน.ภาค 2, กอ.รมน.จังหวัด ก.ส., ข.ก., บ.ก., น.ค., ล.ย.,
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต คัดเลือกโรงเรียนนำร่องรุ่นที่ 1 จำนวน ร้อยละ 10 ของโรงเรียนในสังกัด (43 โรงเรียน ) จำนวน 4 โรงเรียน -
1. 2 สถานะโครงการสำคัญในปีงบประมาณ 2559 พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย พร้อมจะส่งมอบ 8,112 หน่วย ส่งมอบ 10 โครงการ 1,384 หน่วย อยู่ระหว่างก่อสร้าง จะแล้วเสร็จ.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
สพป. พช.3 ป.3. นักเรียนชั้น ป.3 สังกัด สพฐ. / ตำรวจ ตระเวน ชายแดน ด้านภาษา (Literacy) ด้านคำนวณ (Numeracy) ด้านเหตุผล (Reasoning Abilities) กลุ่มเป้า.
คุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้นของบุคลากรกรมเจ้าท่า
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
เวที Wifi(รหัส ) techno1
ขอบเขตเนื้อหา 1. กรอบความคิดเรื่องการวัดผลสัมฤทธิ์
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
Week 4 โครงการบริษัทจำลองเพื่อการผลิตภาพเคลื่อนไหวและสื่อผสม Animation and Multimedia Project CAG2901.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ๔ ภาค โครงการความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระดับตำบล.
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
ผู้เข้ารับการอบรมเตรียมรหัสผู้ใช้และรหัสผ่าน ที่ ศน.สานิต แจก
หน่วยที่ 2 การวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
Teaching Learning Community. Teaching Learning Community.
PLC : การพัฒนาคุณภาพงานวิชาการ
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ สำนักงานเกษตรจังหวัดสตูล
ระเบียบวาระการประชุม
ระดับความเข้มแข็งและขีดความสามารถขององค์การ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ตัวชี้วัดปศุสัตว์อำเภอ รอบที่ 1/61
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
ชี้แจงการอัปโหลดข้อมูล จปฐ. ปี 2561
ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
ROAD MAP “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”
ลงพื้นที่ตรวจราชการจังหวัดสุโขทัย รอบที่ ๒/๒๕๖๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
การจัดการความรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพคน งานและองค์กร
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
การปรับโครงสร้างและอัตรากำลัง ของกรมการข้าว
การติดตามเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
มโนทัศน์การจัดการศึกษา แห่งอนาคตใหม่
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
คัดสรรกิจกรรมพัฒนาชุมชนดีเด่น ประจำปี 2562
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ประธานมูลนิธิสร้างเสริมวิถีบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ
#แอ่งเล็ก...เช็คอิน โดย อภิชาติ โตดิลกเวชช์.
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
แปลงใหญ่ทั่วไป (ข้าว) ตำบลสองห้อง อำเภอบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แปลงใหญ่ทั่วไป ข้าว ตำบลหันสัง อ.บางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
แนวทางการพัฒนาบุคลากร กรมส่งเสริมการเกษตร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

พระราชดำรัส องค์ ๔ การศึกษา –พุทธิศึกษา –จริยศึกษา –หัตถศึกษา –พลศึกษา

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ “ลดเวลาเรียนวิชาการ หวังเห็นเด็กศึกษานอกตำรา ไม่ใช่ท่องจำอย่างเดียว ยังไม่ปล่อยกลับบ้านก่อน เป็นภาระผู้ปกครอง” พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวถึงนโยบายการลดเวลาการเรียนภาควิชาการลง ให้เลิกในเวลา ๑๔.๐๐ น.

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ความเป็นมา “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” การเรียนรู้ของเด็กนักเรียนได้เปลี่ยนแปลงไป อันเนื่องมาจาก มีแหล่งเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยี เช่น Internet, Computer, Tablet หรือแม้กระทั่งโทรศัพท์มือถือ และอื่น ๆ อีกมากมาย ที่นักเรียน สามารถใช้ในการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้ดังกล่าว ไม่จำเป็นต้องจำกัดเฉพาะในห้องเรียนตามเวลาที่ครูกำหนด นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกแห่ง ทุกเวลา ทั้งในห้องเรียนและ นอกห้องเรียน ตามความพร้อมความสามารถของนักเรียน ครูผู้สอน ต้องปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ และนักเรียนต้องเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ ของตนเอง

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ หลักการจัดกิจกรรม“ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” หลักการของการจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๑. จัดกิจกรรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเพิ่มพูนทักษะ ๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครอบคลุมหลักองค์ ๔ การศึกษา ๒.๑ ด้านพุทธิศึกษา ๒.๒ ด้านจริยศึกษา ๒.๓ ด้านหัตถศึกษา ๒.๔ ด้านพลศึกษา ๓. ความสนใจ ความถนัด ๔. เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ หลักการ (ต่อ) ๕. เรียนรู้อย่างมีความหมายและเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ๖. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้วางแผน คิดวิเคราะห์ อภิปราย สรุป ความรู้ นำเสนอ ประกายความคิด สร้างแรง บันดาลใจ ๗. การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ๘. เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ๙. เรียนรู้ควบคู่กับการประเมินผล

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สนับสนุนแนวคิด “ลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้” ทฤษฎีการเรียนรู้ที่สนับสนุนแนวคิด การลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้ คือ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivist) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ ให้ความสำคัญ กับตัวผู้เรียน เชื่อว่าผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ได้ด้วย ตนเอง จากการ มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อมอย่างกระตือรือร้น

Teach More Learn More Teach Less Learn More Teach More Learn Less Teach Less Learn Less

การเรียนรู้อย่างมีความหมาย การรับความรู้ Acquisition บูรณาการ ความรู้ Integration ประยุกต์ใช้ ความรู้ Application Dr. James Gallager

การรับความรู้ Acquisition Dr. James Gallager ประยุกต์ใช้ ความรู้ Application สถานการณ์ปัจจุบัน บูรณาการ ความรู้ Integration ๘๐ % ๑๐ %

การรับความรู้ Acquisition บูรณาการ ความรู้ Integration ประยุกต์ใช้ ความรู้ Application Dr. James Gallager สิ่งที่ควรจะเป็น ๓๓ % ๓๔ %

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน หลักสูตร กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การทบทวน หลังการปฏิบัติ (AAR) ๑๒๓๔ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) หลักสูตร (ไม่เปลี่ยนแปลง) ๑ จัดโครงสร้างเวลาเรียน ปรับปรุง เนื้อหาภายในแต่ละวิชา โครงสร้างเวลาเรียน ประถมศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน ประถมศึกษา โครงสร้างเวลาเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น โครงสร้างเวลาเรียน มัธยมศึกษาตอนต้น

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ โครงสร้างเวลาเรียนระดับประถมศึกษา ๘ กลุ่มสาระ พื้นฐาน ๘๔๐ ชม./ปี เรียนจริง ๑,๒๐๐ – ๑,๔๐๐ ชม./ปี หรือ ๓๐ – ๓๕ ชม./สัปดาห์ กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน ๑๒๐ชม./ปี หรือ ๓ ชม./ สัปดาห์ รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียนจัด ปัจจุบัน “ไม่น้อยกว่า” ๑,๐๐๐ ชม./ปี ๘ กลุ่มสาระ พื้นฐาน ๘๔๐ ชม./ปี เรียนในห้องเรียน ๒๒ ชม./สัปดาห์ ชม.ที่เหลือ ๘ – ๑๒ ชม./สัปดาห์ เป็นกิจกรรม ๔ หมวด (บังคับ หมวด ๑) กิจรรม หมวด ๒ - ๔ ใหม่ “ไม่เกิน” ๑,๐๐๐ ชม./ปี เพิ่มเติม ๔๐ ชม./ปี หมวด ๑ กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน ๑๒๐ชม./ปี หรือ ๓ ชม./ สัปดาห์

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ โครงสร้างเวลาเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ๘ กลุ่มสาระ พื้นฐาน ๘๘๐ ชม./ปี เรียนจริง ๑,๔๐๐ ชม./ปี หรือ ๓๕ ชม./สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ๑๒๐ ชม./ หรือ ๓ ชม./ สัปดาห์ รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียน จัดเพิ่ม ขึ้นเอง ปัจจุบัน “ไม่น้อยกว่า” ๑,๒๐๐ ชม./ปี ๘ กลุ่มสาระ พื้นฐาน ๘๘๐ ชม./ปี กิจกรรม หมวด ๒ - ๔ ใหม่ “ไม่เกิน” ๑,๒๐๐ ชม./ปี หมวด ๑ กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน ๑๒๐ชม./ปี หรือ ๓ ชม./ สัปดาห์ รายวิชา เพิ่มเติมที่ โรงเรียนจัด ๒๐๐ ชม./ปี เรียนในห้องเรียน ๒๗ ชม./สัปดาห์ ชม.ที่เหลือ ๘ ชม./สัปดาห์ เป็นกิจกรรม ๔ หมวด (บังคับ หมวด ๑) รายวิชา เพิ่มเติม ๒๐๐ ชม./ปี ตามหลักสูตรแกนกลาง

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กรอบแนวคิดการจัดตารางเรียน ระดับประถมศึกษา Content Base Learning  ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษาฯ  ภ.อังกฤษ/ ต่างประเทศ Content Base Learning  ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์  สังคมศึกษาฯ  ภ.อังกฤษ/ ต่างประเทศ Activity Base Learning  สุขศึกษาและพล ศึกษา  ศิลปะ  การงานอาชีพและ เทคโนโลยี Activity Base Learning  สุขศึกษาและพล ศึกษา  ศิลปะ  การงานอาชีพและ เทคโนโลยี (Content Base Learning + Activity Base Learning) (Content Base Learning + Activity Base Learning) เพิ่มเวลารู้ สร้างเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม สร้างเสริมทักษะการทำงานดำรง ชีพและทักษะชีวิต กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน HEART HEAD HAND เป้าหมาย กลุ่มกิจกรรม

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การจัดตารางเรียน ระดับประถมศึกษา เวลา วัน ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง ๒ ชั่วโมง ๓ พัก ชั่วโมง ๔ ชั่วโมง ๕ ชั่วโมง ๖ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรม “ลดเวลา เรียน เพิ่ม เวลารู้” - จัดให้เรียนรายวิชา พื้นฐานและรายวิชา เพิ่มเติม ๘ กลุ่ม สาระ การ เรียนรู้ และ ภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ที่จัดเป็น กิจกรรมสร้างเสริม คุณลักษณะบังคับ ตามหลักสูตร จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม / IS ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ เวลาเรียนรู้อิงมาตรฐาน พักรับประทานอาหารกลางวัน

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กรอบแนวคิดการจัดตารางเรียน ระดับมัธยมศึกษา กรอบการจัดตารางเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ภาษาไทย คณิต ภาษา ต่างประเทศ สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา และพละ ประวัติศาสตร์ หน้าที่ พลเมือง เวลาเรียนรู้อิงมาตรฐาน สร้างเสริมสมรรถนะการเรียนรู้ สร้างเสริมคุณลักษณะและค่านิยม สร้างเสริมทักษะการทำงาน ดำรงชีพและทักษะชีวิต สร้างเสริมทักษะการทำงาน ดำรงชีพและทักษะชีวิต กิจกรรม พัฒนา ผู้เรียน HEART HEAD HAND เป้าหมาย กลุ่มกิจกรรม

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การจัดตารางเรียน ระดับมัธยมศึกษา กิจกรรมหน้าเสาธง - จัดให้เรียน รายวิชาพื้นฐานและ รายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ และ ภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน ที่จัดเป็น กิจกรรมสร้างเสริม คุณลักษณะบังคับ ตามหลักสูตร จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม / IS ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ เวลาเรียนรู้อิงมาตรฐาน พักรับประทานอาหารกลางวัน กิจกรรม “ลดเวลา เรียน เพิ่ม เวลารู้”

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ครู รูปแบบ/วิธีการ จัดการเรียนรู้ สังกัด สพป. สังกัด สพม. การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ ๒ สังกัดอื่น สถานศึกษา

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ครู สถานศึกษา รูปแบบ/วิธีการ จัดการเรียนรู้ Long distant Workshop ในระดับพื้นที่ Long distant Workshop ในระดับพื้นที่ Smart Trainer ๑ ทีม : ๑๐ รร. ๕-๘ ต.ค.๕๘ Smart Trainer ๑ ทีม : ๑๐ รร. ๕-๘ ต.ค.๕๘ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากร ๒

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ครู สถานศึกษา รูปแบบ/วิธีการ จัดการเรียนรู้ ปรับสัดส่วนรูปแบบ การเรียนรู้ จากการบรรยาย เป็นจัดวิธีการเรียนรู้ เน้นลงมือปฏิบัติ ในรูปแบบอื่น ปรับสัดส่วนรูปแบบ การเรียนรู้ จากการบรรยาย เป็นจัดวิธีการเรียนรู้ เน้นลงมือปฏิบัติ ในรูปแบบอื่น Smart Trainer ๑ ทีม : ๑๐ รร. Coaching Mentoring Smart Trainer ๑ ทีม : ๑๐ รร. Coaching Mentoring การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กระบวนการ จัดการเรียนรู้ การพัฒนาบุคลากร ๒

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรม รายการ กิจกรรม ๑. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (กิจกรรมบังคับตามหลักสูตร) ๑. กิจกรรมแนะแนว๑) ด้านการศึกษา ๒) ด้านอาชีพ ๓) ด้านส่วนตัวและสังคม ๒. กิจกรรมนักเรียน ๑) ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ ๒) ชุมนุม ชมรม ๓. กิจกรรมเพื่อสังคม และ สาธารณประโยชน์ ๑) ร่วมด้วยช่วยกันสร้างสรรค์ สังคม ๒) เยาวชนนั้นไซร้คือพลังแผ่นดิน ๓) จิตอาสาพาสะอาด ๔) ธนาคารความดี

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรมรายการกิจกรรม ๒. สร้างเสริมสมรรถนะ และการเรียนรู้ ๔. พัฒนาความสามารถ ด้านการสื่อสาร ๑) สนุกกับภาษาไทย ๒) English is Fun ๓) มัคคุเทศก์น้อย ๕. พัฒนาความสามารถ ด้านการคิด และการพัฒนากรอบ ความคิดแบบเปิด กว้าง (Growth Mindset) ๑) หุ่นยนต์วิเศษ ๒) ศิลปะสร้างสรรค์ ๓) มาเรียนรู้กันเถอะ ๖. พัฒนาความสามารถ ด้านการแก้ปัญหา ๑) การถกแถลง / ระดมความ คิดเห็น / กระบวนการแก้ปัญหา ๒) กลคณิตศาสตร์ ๓) วางอย่างไรให้เป็นชุด

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรมรายการกิจกรรม ๒. สร้างเสริมสมรรถนะ และการเรียนรู้ ๗. พัฒนาความสามารถ ด้านการใช้เทคโนโลยี ๑) เที่ยวไกลไร้พรมแดน ๒) การสร้างงานด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ๓) Virtual Field Trip ๘. พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๑) ฟุด ฟิด ฟอ ไฟ สไตล์ มูฟวี่ (ภาษาอังกฤษ) ๒) แยกฉันแล้วเธอจะได้อะไร (แยกตัวประกอบคณิตศาสตร์) ๓) นิทานหรรษา (นิทาน ๓ ภาษา)

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรมรายการกิจกรรม ๓. สร้างเสริมคุณลักษณะ และค่านิยม ๙. ปลูกฝังค่านิยมและ จิตสำนึกการทำ ประโยชน์ต่อสังคม มีจิตสาธารณะและ การให้บริการ ด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเอง และต่อส่วนรวม ๑) นักสืบสายน้ำ ๒) มือปราบขยะ ๓) นักอนุรักษ์น้อย ๔) พี่สอนน้อง / เพื่อนสอนเพื่อน ๑๐. ปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ ๑) ตามรอยพ่อ ๒) โครงงานทำดีเพื่อพ่อ ๓) เรียนรู้อุทยานราชภักดิ์

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรมรายการกิจกรรม ๓. สร้างเสริมคุณลักษณะ และค่านิยม ๑๑. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่น ในการทำงาน กตัญญู) ๑) โครงงานคุณธรรม ๒) ห้องน้ำสะอาด ๓) ครอบครัวของฉัน ๑๒. ปลูกฝังความรัก ความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทย และหวงแหนสมบัติ ของชาติ ๑) ภูมิใจในบ้านเกิด ๒) สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๓) รักษ์ไทย รักษ์ถิ่น ๔) สิทธิ์ฉันสิทธิ์เธอ

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรมรายการกิจกรรม ๔. สร้างเสริมทักษะ การทำงานการดำรง ชีพ และทักษะชีวิต ๑๓. ตอบสนองความ สนใจ ความถนัด และความต้องการ ของผู้เรียนตามความ แตกต่างระหว่าง บุคคล ๑) ร้องได้ ร้องดี ชีวีมีสุข ๒) รวมศิลป์สร้างสรรค์ ๓) ชุมนุม ชมรมต่าง ๆ ๔) แนะแนว ๑๔. ฝึกการทำงาน ทักษะ ทางอาชีพ ทรัพย์สิน ทางปัญญา อยู่อย่าง พอเพียง และมีวินัย ทางการเงิน ๑) ออมสิน ออมทรัพย์ ๒) ร้อยลูกปัด ๓) ถ่ายภาพมือโปร ๔) เกษตรอินทรีย์วิถีธรรมชาติ ๕) ตลาดนัดพอเพียง

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” หมวดกลุ่มกิจกรรม รายการ กิจกรรม ๔. สร้างเสริมทักษะ การทำงานการ ดำรงชีพ และทักษะชีวิต ๑๕. พัฒนา ความสามารถ ด้านการใช้ทักษะชีวิต ๑) การปรับตัวให้เหมาะสม ๒) คู่ Buddy พี่รหัส ๓) ว่ายน้ำ ๑๖. สร้างเสริม สมรรถนะทางกาย ๑) วันกีฬาครอบครัว ๒) Bike for Yourself ๓) กีฬาสากล

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การวัดและประเมินผล กลุ่มกิจกรรม “เพิ่มเวลารู้” ๑. หมวดที่ ๑ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร ประกอบด้วย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ให้ตัดสินผลการประเมินเป็น “ผ่าน” และ “ไม่ผ่าน” ตามเกณฑ์การประเมินที่ หลักสูตรกำหนด และเป็นส่วนหนึ่งของ การจบหลักสูตรสถานศึกษา ๒. หมวดที่ ๒ – ๔ กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถนะและการเรียนรู้ กิจกรรมสร้างเสริม คุณลักษณะและค่านิยม และกิจกรรมสร้างเสริมทักษะการทำงาน การดำรงชีพและ ทักษะชีวิต ให้ประเมินผลความก้าวหน้าพัฒนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคล และ ประเมิน ความพึงพอใจของนักเรียน ผู้เกี่ยวข้อง โดยอาจจะบันทึกผลการประเมินเป็นแฟ้ม สะสมงาน (Portfolio) ของนักเรียนรายบุคคล

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่างการวัดและประเมินผล การจัดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ประเด็นการวัดและประเมินผลวิธีการวัดและประเมินผลเครื่องมือวัดและประเมินผล การทำงานเป็นทีมสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ-แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ -เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) ทักษะการแก้ปัญหา- ตรวจผลงาน การปฏิบัติงาน - สอบถามความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมของ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง -แบบประเมินประเมินผลงาน -เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) - แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม ทักษะการคิดวิเคราะห์ตรวจผลงาน (ภารงาน/ ชิ้นงาน) -แบบประเมินประเมินผลงาน -เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) คุณธรรม จริยธรรม (มีวินัย ซื่อสัตย์ สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นในการทำงาน กตัญญู) - สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติ - สอบถามความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรมของ นักเรียน ครู ผู้ปกครอง -แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติ -เกณฑ์คุณภาพ (Rubric) -แบบประเมินความพึงพอใจ ในการร่วมกิจกรรม

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ทางวิชาการ NT, O-NET ไม่มีผลกระทบ ทางวิชาการ NT, O-NET ไม่มีผลกระทบ ความสำเร็จของโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ระหว่างภาคเรียน ๒ ครั้ง หลังปิดภาคเรียน ๑ ครั้ง ความสำเร็จของโครงการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ระหว่างภาคเรียน ๒ ครั้ง หลังปิดภาคเรียน ๑ ครั้ง การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การวัด และประเมินผล ๓ การประเมินผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน การประเมินผลสัมฤทธิ์ ของผู้เรียน

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ สพป./สพม. สถานศึกษา สพฐ. การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ การทบทวน หลังการปฏิบัติ After Action Review (AAR) ๔ สัปดาห์ละครั้ง เดือนละครั้ง ภาคเรียนละครั้ง - ดำเนินการทันทีหลังปิดภาคเรียน - ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป - รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป - ดำเนินการทันทีหลังปิดภาคเรียน - ศึกษารูปแบบการจัดการของโรงเรียนที่ประสบความสำเร็จ เพื่อขยายไปยังโรงเรียนที่เหลือต่อไป - รวบรวมปัญหา / ข้อขัดข้อง เพื่อหาทางแก้ไขต่อไป

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ปรับปรุงเนื้อหาภายในแต่ละวิชา ความสอดคล้องเชื่อมโยงและจัดกลุ่มตัวชี้วัดชั้นปี ป.๑-ม.๓ ทั้งภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ความสอดคล้องเชื่อมโยงและจัดกลุ่มตัวชี้วัดชั้นปี ป.๑-ม.๓ ทั้งภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ความสอดคล้องเชื่อมโยงของสาระการเรียนรู้แกนกลาง ป.๑-ม.๓ทั้ง ภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการบริหารจัดการ แนวทางการกำหนดกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สถานศึกษา พิจารณาเลือกแนวทาง การกำหนดกิจกรรมที่สอดคล้องกับบริบทและ ศักยภาพของสถานศึกษา ดังนี้ แนวทางที่ ๑ โรงเรียนจัดกิจกรรม หลากหลายให้นักเรียน เลือกตามความถนัด ความสนใจรายบุคคล/ รายกลุ่ม แนวทางที่ ๒ โรงเรียนเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนรายบุคคล / รายกลุ่มเสนอกิจกรรม ครูที่ปรึกษาพิจารณา ดูแล ช่วยเหลือ แนวทางที่ ๓ โรงเรียนที่จัดการศึกษา หลายระดับใช้แนวทางที่ ๑ ร่วมกับแนวทางที่ ๒ ที่สอดคล้องกับสภาพและ บริบทของโรงเรียน ชุมชน

แนวทางการปรับลดเวลาเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตร ป.๑ รายวิชา/กิจกรรมเวลาเรียน(ชม./ปี) รายวิชาพื้นฐาน(๘๔๐) ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย๒๐๐ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์๒๐๐ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์๘๐ ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม๘๐ ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์๔๐ พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา๘๐ ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ๘๐ ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ และเทคโนโลยี๔๐ อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ๔๐ รายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม(๔๐) ส๑๑๒๓๑ หน้าที่พลเมือง๔๐ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน(๑๒๐) กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ - กิจกรรมแนะแนว๔๐ - กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด๔๐ - ชุมนุม/ชมรม๓๐ - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์๑๐ รวมเวลาเรียนทั้งสิ้น๑,๐๐๐

ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตรชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการปรับเวลาเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา เวลากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ช่วงเช้า ๐๘.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น.จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือเรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ พักกลางวัน ๑๑.๓๐ น. – ๑๒.๓๐ น.พักรับประทานอาหารกลางวัน ช่วงบ่าย ๑๒.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น.- จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ และภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร ๑๔.๓๐ น. – ๑๕.๓๐ น.ปฏิบัติกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่างการจัดตารางเรียน ระดับชั้นประถมศึกษา จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา เพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ เรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ - จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่ม สาระ การเรียนรู้ และ ภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร จัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่างการจัดตารางเรียน เวลา วัน ๐๘.๐๐- ๐๘.๓๐ ๐๘.๓๐- ๐๙.๓๐ ๐๙.๓๐- ๑๐.๓๐ ๑๐.๓๐- ๑๑.๓๐ ๑๑.๓ ๐- ๑๒.๓ ๐ ๑๒.๓๐-๑๓.๓๐ ๑๓.๓๐- ๑๔.๓๐ ๑๔.๓๐- ๑๕.๓๐ จันทร์ กิจกรรมหน้าเสาธง ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ (ดนตรี- นาฎศิลป์) ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ พักรับประทานอาหารกลางวัน ง๑๑๑๐๑ กอท ๑ อ๑๑๒๐๑ ศัพท์แสนสนุก ๑ (เพิ่มเติม) กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ อังคาร ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ส๑๑๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๑ พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพล ศึกษา ๑ (สุขศึกษา) กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กิจรรม นักเรียน พุธ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ อ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ลูกเสือ-เนตร นารี พฤหัส ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ (ทัศนศิลป์) ส๑๑๒๐๑ หน้าที่พลเมือง ๑ (เพิ่มเติม) แนะแนว ศุกร์ ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑ ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๑ ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา ๑ กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ตารางเรียน ออกอากาศสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ และการจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ หมายเหตุ โรงเรียนจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ จำนวน ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตารางเรียน ระดับประถมศึกษา เวลา วัน ๐๘.๐ ๐ - ๐๘.๓๐ ๐๘.๓๐- ๐๙.๓๐ ๐๙.๓๐- ๑๐.๓๐ ๑๐.๓๐- ๑๑.๓๐ ๑๑.๓๐ - ๑๒.๓๐ ๑๒.๓๐- ๑๓.๓๐ ๑๓.๓๐- ๑๔.๓๐ ๑๔.๓๐-๑๕.๓๐ จันทร์ กิจกรรมเช้า หน้าเสาธง BBL ส่งเสริมการอ่าน ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์ พักรับประทานอาหารกลางวัน สังคมฯศิลปะ กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ อังคาร คณิตศาสตร์ภาษาไทยภาษาอังกฤษชุมนุม สุขศึกษาและ พลศึกษา กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ พุธ ภาษาไทยคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์หน้าที่ลูกเสือ กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ พฤหัสบดี คณิตศาสตร์ภาษาไทย สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม แนะแนว สุขศึกษาและ พลศึกษา กิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ศุกร์ ภาษาไทยคณิตศาสตร์ประวัติศาสตร์ศิลปะ การงาน อาชีพ และเทคโนโลยี สุดสัปดาห์สวดมนต์ บูรณาการค่านิยม ๑๒ ประการ คุณธรรม ๘ ประการ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์สมรรถนะ หมายเหตุ กิจกรรมสุดสัปดาห์สวดมนต์ บูรณาการค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ คุณธรรม ๘ ประการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่โรงเรียน จัดเพื่อพัฒนานักเรียนตามจุดเน้นของโรงเรียน

ตัวอย่าง โครงสร้างหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ แนวทางการปรับเวลาเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา เวลากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ช่วงเช้า๐๘.๑๕ น. – ๑๒.๑๕ น.จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ หรือเรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ พักกลางวัน๑๒.๑๕ น. – ๑๓.๑๕ น.พักรับประทานอาหารกลางวัน ช่วงบ่าย๑๓.๑๕ น. – ๑๕.๑๕ น.- จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่ม สาระ การเรียนรู้ และภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร ๑๕.๑๕ น. – ๑๖.๑๕ น.ปฏิบัติกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ตัวอย่างการจัดตารางเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษา จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา เพิ่มเติม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือ เรียนเนื้อหา สาระ ภาควิชาการ - จัดให้เรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชาเพิ่มเติม ๘ กลุ่ม สาระ การเรียนรู้ และ ภาคปฏิบัติ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ จัดเป็นกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ บังคับตามหลักสูตร จัดกิจกรรม ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

แนวทางการบริหารจัดการ “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทของครู ๑. เข้าใจแนวคิดที่ว่า “ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ ด้วยตัวเอง” โดยเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่ภายในเข้ากับ การได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ๒. ต้องตระหนักว่า “การจัดการศึกษาแก่นักเรียนนั้นควร ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนรู้” ไม่ใช่เน้นแต่ เพียงเนื้อหาความรู้ ๓. มีบทบาทเป็น “ผู้แนะนำ สร้างบรรยากาศและจัด สถานการณ์ที่กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง” มากกว่าการเรียน จากคำบอกของผู้สอน

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทครู ๔. จัดกิจกรรมให้ “เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ผู้เรียนกับครู และครู ภายในสถานศึกษาเดียวกันหรือต่างสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษา และ สถานศึกษากับชุมชน” ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติอันจะก่อให้เกิด ประสบการณ์ตรงกับนักเรียน ๕. มีบทบาทในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะ “การเรียนรู้แบบ ร่วมมือระหว่างนักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียนด้วยกัน” เพื่อฝึก ทักษะ การทำงานเป็นทีม การเรียนรู้ด้วยตนเอง และทักษะสำคัญอื่น ๆ ๖. ออกแบบ “สร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อ ต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน” มากกว่าการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ หน้าห้องเพียงอย่างเดียว

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทครู ๗. สอนให้นักเรียนเกิด “ความเข้าใจเกี่ยวกับมโนทัศน์ และแนวคิดที่สำคัญ” มากกว่า การท่องจำได้ ๘. กระตุ้นให้นักเรียน “เห็นคุณค่า มีทัศนคติที่ดี และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริง” มากกว่าที่จะนำความรู้ไปใช้ใน การสอบเท่านั้น ๙. ควรสอนให้นักเรียน “เห็นภาพรวมของเนื้อหาและเข้าใจ การเชื่อมโยงกันของเนื้อหา” มากกว่าที่จะสอนเนื้อหาแยกกันเป็นเรื่องๆ ๑๐. เน้นที่ “กระบวนการของการเรียนรู้ของนักเรียน”มากกว่าการเน้นไปที่ ผลการเรียนรู้เพียงอย่างเดียว ๑๑. ส่งเสริมให้นักเรียน “คิดอย่างมีวิจารณญาณโดยการใช้คำถามกระตุ้น” มากกว่าการ ให้นักเรียนปฏิบัติตามคำสั่งเท่านั้น

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทครู ๑๒. “เอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล” และแสดงความเมตตาต่อผู้เรียน อย่างทั่วถึง ๑๓. จัดกิจกรรมและสถานการณ์เพื่อ “ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออกและ คิดอย่างสร้างสรรค์” ๑๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียน “ฝึกคิด ฝึกทำ และฝึกปรับปรุงตนเอง” ๑๕. ส่งเสริมกิจกรรม “แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม” พร้อมทั้งสังเกตส่วนดี และปรับปรุงส่วนด้อยของผู้เรียน ๑๖. ใช้สื่อและแหล่งเรียนรู้ที่ “หลากหลายและเชื่อมประสบการณ์กับชีวิต จริง” เพื่อฝึกการคิด การแก้ปัญหา และการค้นพบความรู้ ๑๗. ส่งเสริมให้นักเรียนมี “ความกระตือรือร้นและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง” มากกว่าการที่นักเรียนเรียนรู้จากการทำแบบฝึกหัดและท่องจำ

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ บทบาทครู ๑๘. คำนึงถึง “ความแตกต่างระหว่างบุคคลของนักเรียน” ทั้งในด้าน ความเหมาะสมกับนักเรียนมากกว่าการใช้วิธีสอนแบบเดียวกันกับนักเรียน ทั้งหมดทุกคน ๑๙. ใช้วิธีการประเมินผลที่ “หลากหลาย และเป็นการประเมินตามสภาพ จริง” ในการวิเคราะห์คุณภาพและพัฒนาการของนักเรียนมากกว่าการ ประเมินนักเรียนจากการสอบเท่านั้น

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ หน่วยงาน / องค์กร กระทรวงการท่องเที่ยวฯ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กระทรวงกลาโหม กระทรวงแรงงาน กระทรวงยุติธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ฯลฯ โอลิมปิคฯ กลุ่มศิลปิน ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน กรอ.อศ. อปท. CSR ของบริษัทเอกชน ฯลฯ หน่วยงาน / องค์กรที่สามารถจัดกิจกรรมร่วมกับสถานศึกษาได้ ประชุมผู้แทน หน่วยงาน / องค์กร เมื่อวันจันทร์ที่ ๒๘ ก.ย. ๕๘

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ ROAD MAP อบรม Smart Trainners (๕-๘ ต.ค. ๕๘) สัมมนาทางไกล เชิงปฏิบัติการ ผู้แทนโรงเรียน เปิดเทอม (๒ พ.ย. ๕๘) Kick off สอบ กลางภาค ปิดเทอม (๓๑ มี.ค. ๕๙) AAR (๕-๙ เม.ย. ๕๙)

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ เนื่องจาก สพฐ. กำหนดให้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้าง ความรู้ความเข้าใจการขับเคลื่อนนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ระหว่างวันที่ ตุลาคม 2558 ณ ห้อง ประชุมบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) โดยมีรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน จึงขอแนะนำวิธีการ รับชม ดังนี้ ข้อแนะนำในการรับชม 1. สพท.ทั้งหมด สามารถรับชมทางช่อง Dltv14 เท่านั้น โดยใช้เครื่องสัญญาณดาวเทียมที่ สพฐ. จัดสรรงบประมาณ ให้โรงเรียนขนาดเล็ก หรือกล่องรับดาวเทียม ku band (จานเล็ก) ที่มีตามบ้านทั่วไป รับทางช่อง Dltv ได้ เช่น True Psi Dtv และอื่นๆ

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ 2. สพท. ใดใช้โรงเรียนเป็นศูนย์รับชม แต่ไม่สามารถติดตั้ง conference ได้ ให้รับชมทางทีวีอย่างเดียวไม่มีภาพ ส่งกลับ 3. กรณีไม่สามารถรับชมผ่านอุปกรณ์ตามข้อ 1 และ 2 สามารถรับชมผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ที่ และ (ความคมชัดขึ้นอยู่กับสัญญาณ อินเทอร์เน็ต) หมายเหตุ หากมีปัญหาในการรับชมหรือการติดตั้งอุปกรณ์ conference สามารถติดต่อได้ที่

แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียนและการ จัดกิจกรรมเพิ่มเติมความรู้ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. academic.obec.go.th