จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
การเพิ่ม ลบ จำกัดสิทธิ์ User จัดทำโดย 1. นายธัชนนท์ ต๊ะต้องใจ 1-B เลขที่ 4 2. นาย ไพบูรณ์ อินทะซาว 1-B เลขที่ 23.
Fix common PC problems จัดทำโดย เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 1 นาย ภูวิศ นิ่มตระกูล เลขที่ 27 นาย วีรภัทร ท้วมวงษ์ เลขที่ 30.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
FIX COMMON PC PROBLEMS By Missis Jatuporn Surinseng Missis Chamaiporn Sommit.
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี บริการ ) โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยนเรศวร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ( หน่วยเทคโนโลยี
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ หน่วยรับเข้า และ หน่วยส่งออก ( In put, Out put )
เรื่อง การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กับ การนำเสนองาน โดย ครูอัมพร ประเสริฐสังข์ ครู คศ. ๑ โรงเรียนบ้านยามกาโนนคำ อ. เพ็ญ สพป. อุดรธานี เขต 1 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ฐานข้อมูล.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Information System MIS.
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล

จัดทำโดย นายดนัย มณีวัณณ์ นายโสภณัฐ ขันทอง โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา กรุงเทพมหาคร เขต ๒

ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบที่ทำหน้าที่ ประมวลผลข้อมูล ข้อมูล คือ ข้อเท็จจิรงที่สามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้ การประมวลผลข้อมูล หมายถึง การที่ คอมพิวเตอร์ทำการใดๆ กับข้อมูลให้อยู่ใน รูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ ของผู้ใช้มากขึ้น

ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ที่ สำคัญดังต่อไปนี้ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากรคอมพิวเตอร์ (People) ข้อมูล (Data)

ข้อมูล อุปกรณ์ นำเข้า คู่มือการ จัดเก็บ ข้อมูล กระบวนง าน บุคลากร คอมพิวเ ตอร์ หน่วย ประมวลผล กลาง โปรแกรม ซอฟต์แวร์ อุปกรณ์ ส่งออก

ซอฟท์แวร์ คือ ทรัพยากรอันมีค่าของ องค์กร ต้องมีการจัดเก็บอย่างมี ประสิทธิภาพและปลอดภัย และต้องมี วิธีการให้เรียกใช้ได้อย่างทันการตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ถูกต้อ ง นะ ครับ ถูกต้อ ง นะ ครับ ไม่ ถูกต้อ ง นะครับ ไม่ ถูกต้อ ง นะครับ 3030

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์ คือส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ส่วนต่าง ๆ ที่มีตัวตน สามารถมองเห็นและ จับต้อง ได้ เช่น ซีพียู จอภาพ เมาส์ แป้นพิมพ์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งส่วนเหล่านี้แตะละส่วนจะทำหน้าที่ แตกต่างกันออกไปดังนี้คือ หน่วยรับข้อมูลเข้า เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ หน่วยประมวลผลกลาง ( ซีพียู ) หน่วยแสดงผลข้อมูล หรือหน่วยส่งออก เช่น มอนิเตอร์ ปรินเตอร์

อุปกรณ์ในข้อใดทำหน้าที่ แตกต่าง MouseKeyboardScanner 30 Printers Webcam

ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ คือ ชุดคำสั่ง ( โปรแกรม ) ที่สั่งให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน จัดเป็นส่วนที่เป็นนามธรรม คือ ไม่มี ตัวตน ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่เป็นส่วนที่จำเป็น ถ้าไม่ มีซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทำงานได้ ซอฟต์แวร์ถือว่าเป็นทรัพย์สินทางปัญญาอย่างหนึ่ง และ อยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมายลิขสิทธิ์ หมายถึง ผู้ใช้งานที่ถูกต้องจะต้องได้รับการอนุญาตจากเจ้าของ ซอฟต์แวร์นั้น อาจจะได้รับอนุญาต หรือ ซื้อมา ซอฟต์แวร์นั้นเราแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ 2.2 ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ 2.3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์

ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมที่ทำหน้าที่ ควบคุมการทำงานในส่วนต่าง ๆ ของเครื่อง คอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ประสานงานระหว่าง ฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์อื่น

ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ เป็นโปรแกรม ที่ทำหน้าที่ช่วยในการทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ในหน้าที่เฉพาะด้านบางอย่าง เช่น การตรวจหาและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์ การเรียงลำดับข้อมูลเป็นต้น

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ได้แก่โปรแกรมที่ใช้ ทำงานตามคำสั่ง หรือตามความต้องการของ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ได้แก่ โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word หรือโปรแกรมคำนวณ เช่น Excel เป็นต้น

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ที่มี ตัวตน สามารถมองเห็นและ จับ ต้องได้ คือความหมายของข้อใด ซอฟท์แ วร์ ฮาร์ดแว ร์ 30

บุคลากรคอมพิวเตอร์ บุคลากรคอมพิวเตอร์ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่ง ของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะแต่เดิมนั้น คอมพิวเตอร์เป็นสิ่งที่ ใช้ยาก บุคลากรที่จะทำหน้าที่เป็นผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์จะต้องมี ความรู้ในระดับผู้ชำนาญการทีเดียว แต่ในปัจจุบันนี้ การใช้งาน คอมพิวเตอร์มีหลายระดับ ในระดับพื้นฐานนั้นการใช้งานจะง่าย มาก เพราะทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์สมัยใหม่ได้รับการ ออกแบบให้ง่ายต่อการใช้งาน เรียกว่า เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ผู้ใช้งานในระดับนี้ เมื่อได้รับการฝึกหัดเพียงเล็กน้อยก็สามารถ เริ่มใช้งานได้ทันที อย่างไรก็ตาม ระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มักมีการต่อเชื่อมกับเครือข่าย ซึ่งส่วนนี้ยังมีความยุ่งยาก พอสมควร นอกจากนี้ยังมีปัญหาเรื่อง ไวรัสคอมพิวเตอร์ ซึ่ง เป็นโปรแกรมชนิดหนึ่งที่สามารถทำให้เกิดความผิดปกติในการ ทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ จึงจำเป็นที่ต้องใช้บุคลากร คอมพิวเตอร์ที่มีความเชี่ยวชาญมาดูแลระบบคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์จำนวนมาก ๆ บุลา กรคอมพิวเตอร์ที่สำคัญได้แก่

บุคลากรคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลระบบ (System Administrator) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) วิศวกรระบบ (System Engineer) วิศวกรเครือข่าย (Network Engineer) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ระดับสูง (Super User) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป (User)

ข้อมูล ข้อมูล คือทรัพยากรอันมีค่าขององค์กร ต้อง มีการจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย และต้องมีวิธีการให้เรียกใช้ได้อย่างทันการตาม วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การจัดข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้ โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Database Management Program) ดังนั้น ในการจัดเก็บ ข้อมูลจำเป็นต้องศึกษาระบบงานขององค์กรเป็น อย่างดี เพื่อทำการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ฐานข้อมูล เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายยิ่งขึ้น

แบบทดสอบหลังเรียน

จงนำรูปภาพต่อไปนี้ไปใส่ ให้ถูกต้อง หน่วยรับข้อมูล เข้า หน่วย ประมวลผล หน่วยแสดงผล 6060

6060 จงจับคู่ชนิดของโปรแกรมให้ ถูกต้อง ซอฟท์แวร์ ระบบ ซอฟท์แวร์ ประยุกต์ ซอฟท์แวร์ อรรถประโยชน์ Microsoft Window XP Microsoft Word Microsoft Excel Anti virus Microsoft Window ME