การอภิบาล ( การอภิบาล ( Governance) อำพล จินดาวัฒนะ การประชุมวิชชาการ : ปฏิรูประบบสุขภาพและชีวิต ปฏิรูป จิตสำนึกประชาธิปไตย ในโอกาส ๙ ปี สช. วันที่ 10 – 12 มิถุนายน 2558 ณ อิมแพคฟอรั่ม เมืองทอง ธานี
ข อภิบาล หมายถึง การปกครอง ที่เต็มไปด้วยความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ความเอื้ออาทร ซึ่งกันและกัน โดยเล็งเห็น คุณค่า และศักดิ์ศรีแห่งความ เป็นมนุษย์ เป็นการปกครองที่ มุ่งหวังให้ทุกคน ทั้งผู้ปกครอง และผู้ถูกปกครองได้รับ ประโยชน์สูงสุดและมีความสุ ข
แนวคิด “ การอภิบาล ” สมัยใหม่ ไม่ได้หมายถึงอำนาจ ของ รัฐเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของทุกภาคส่วน เป็น เรื่องสาธารณะ การอภิบาลจึงเป็น แนวโน้มความสัมพันธ์แบบใหม่ ระหว่างภาครัฐ, ภาคธุรกิจ และภาค ประชาชน ที่มีลักษณะเป็นเครือข่าย มีส่วนร่วมในการจัดสรรทรัพยากร ร่วมกัน และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและ กันมากขึ้น
Governance is the Totality of interactions in which governments, other public organisation, private companies, and civil society participate in order to (1) solve public challenges and (2) create new opportunities Meuleman 2008 การอภิบาล หมายถึง การปฏิสัมพันธ์ กันของภาครัฐ องค์กรสาธารณะต่างๆ ภาคธุรกิจ ภาคประชาชน เพื่อร่วมกัน แก้ปัญหา ความท้าทายต่างๆ ในสังคม และสร้างสรรค์โอกาสใหม่ๆ
รัฐตลาด เครือข่าย เครือข่าย รูปแบบของการใช้อำนาจการบังคับบัญชาการแลกเปลี่ยนการสานเสวนา รากฐานของเหตุผล ความเป็นทางการและ กระบวนการ มุ่งเน้นผลลัพธ์ มุ่งเน้นกระบวนการและการ สะท้อนความคิด เกณฑ์วัดความสำเร็จ การจัดสรรทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ การบรรลุเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิผล ความยินยอมจาการเจรจา ต่อรอง เกณฑ์วัดความล้มเหลว ความไร้ประสิทธิภาพความ ล่าช้า ความไรประสิทธิภาพทาง เศรษฐศาสตร์ การได้แต่ถกเถียงโดยไม่ได้ ข้อสรุป ขอบเขตเชิงพื้นที่พรมแดนประเทศระบบทุนนิยมโลก พยายามปรับชอบเขตแต่ขึ้นอยู่ กับเส้นทางในอดีต มุมมองต่อมนุษย์ ชอบอยู่ในระบบและระเบียบที่ ชัดเจนตายตัว เห็นแก่ผลประโยชน์และ มุ่งหวังประโยชน์สูงสุด ชอบถกเถียง มีส่วนร่วมในกิจ สาธารณะ แนวคิดที่ต่อยอดจากตัวแบบ อุดมคติ การบริหารจัดการภาครัฐแนว ใหม่ ธรรมภิบาล อภิมหาอภิบาล การอภิบาล ของการอภิบาล การอภิบาลแบบเครือข่าย การ อภิบาลแบบประชาธิปไตย ตัวแบบอุดมคติของการอภิบาล