งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายกึ่งการคลังกับบทบาทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายกึ่งการคลังกับบทบาทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายกึ่งการคลังกับบทบาทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs)
Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

2 นโยบายกึ่งการคลังกับบทบาทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs)
นโยบายกึ่งการคลังคืออะไร และมีความสำคัญอย่างไร การใช้นโยบายกึ่งการคลังผ่าน SFIs ความสำคัญของ SFIs บทบาทของ SFIs สถานะ SFIs ในระบบการเงินไทยในปัจจุบัน การกำกับดูแล SFIs เพื่อป้องกันการเกิดภาระ ทางการคลังในอนาคต ช่องทางส่งผ่านภาระการคลังจากการดำเนินงาน ของ SFIs Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 2

3 นโยบายกึ่งการคลัง ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office
3

4 คำนิยามของนโยบายกึ่งการคลัง
นิยามที่กำหนดโดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund: IMF) “Quasi-fiscal activities: Activities (under the direction of government) of central banks, public financial institutions, and nonfinancial public enterprises that are fiscal in character- that is, in principle, they can be duplicated by specific fiscal measures, such as taxes, subsidies or other direct expenditures, even though precise quantification can in some cases be very difficult.” (IMF, 2001) Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 4

5 คำนิยามของนโยบายกึ่งการคลัง
นิยามของสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง “การดำเนินกิจกรรมหรือนโยบายรัฐบาลผ่านหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่รัฐบาล เช่น ธนาคารกลาง สถาบันการเงินเฉพาะกิจและรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรัฐบาลสามารถเข้าไปแทรกแซงในกระบวนการตัดสินใจของฝ่ายบริหารในหน่วยงานอื่นได้ เพื่อให้มีการดำเนินนโยบายตามที่รัฐบาลต้องการ โดยรัฐบาลไม่ต้องเสนองบประมาณผ่านสภา แต่อาจจะมีผลกระทบเป็นภาระของรัฐบาลได้ในอนาคต หากการดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวมีความเสียหายเกิดขึ้น” (สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง, 2549) ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 5

6 ความสำคัญของนโยบายกึ่งการคลัง
การดำเนินนโยบายหรือมาตรการเพื่อจัดการกับระดับอุปสงค์รวมในระบบเศรษฐกิจ โดยมิได้มีการใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปี การก่อหนี้สาธารณะ การจัดเก็บภาษีอากรหรือการใช้เงินคงคลังในการดำเนินการดังกล่าว เพิ่มความคล่องตัวและความยืดหยุ่นในการดำเนินนโยบายของรัฐบาล บรรเทาปัญหาการขาดแคลนงบประมาณของรัฐบาล ช่วยให้รัฐบาลสามารถแก้ไขปัญหาของประเทศภายใต้ข้อจำกัดของงบประมาณ ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 6

7 นโยบายกึ่งการคลังผ่าน SFIs
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 7

8 ความสำคัญของ SFIs Fiscal Policy Office
8

9 การใช้นโยบายกึ่งการคลังผ่าน SFIs
การดำเนินนโยบายโดยใช้ SFIs เป็นเครื่องมือส่งผ่านเม็ดเงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจตามโครงการต่างๆ ของรัฐบาล เพื่อมุ่งหวังให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึงบริการทางการเงินอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เนื่องจากระบบการเงินไทยในปัจจุบันยังมีช่องว่างในการเข้าถึงบริการทางการเงินอยู่ การใช้นโยบายกึ่งการคลังผ่าน SFIs จะทำให้กลไกในระบบการเงินสามารถดำเนินงานได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น และช่วยเหลือประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้ทันท่วงที โดยไม่ต้องรอผ่านขั้นตอนในการเสนอของบประมาณ ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 9

10 การใช้นโยบายกึ่งการคลังผ่าน SFIs
ภาคประชาชนระดับฐานราก เช่น โครงการธนาคารประชาชน โครงการหนี้นอกระบบ ภาคเกษตรกร เช่น โครงการพักชำระหนี้เกษตรกร โครงการประกันรายได้เกษตรกร ภาคอสังหาริมทรัพย์ เช่น โครงการบ้านเอื้ออาทร โครงการ ธอส.-กบข. เพื่อที่อยู่อาศัยข้าราชการ ภาควิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เช่น โครงการ SME Power โครงการช่วยเหลือผู้ประกอบการท่องเที่ยว Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 10

11 ข้อควรระวังในการใช้นโยบายกึ่งการคลัง ผ่าน SFIs
การใช้นโยบายกึ่งการคลังผ่าน SFIs แม้ว่าจะไม่ได้เป็นการใช้งบประมาณภาครัฐโดยตรง แต่อาจก่อให้เกิดภาระทางการคลังในอนาคตได้ (Contingent Liabilities) หากมาตรการภาครัฐต่างๆ ที่ผ่าน SFIs นี้ ส่งผลต่อการขาดสภาพคล่องและผลประกอบการของ SFIs Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 11

12 ความสำคัญของ SFIs ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office
12

13 ความสำคัญของ SFIs เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในการกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อในระบบ โดยเฉพาะในช่วงวิกฤติ รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์เฉพาะต่างๆ เช่น เวลาที่เกิดภัยธรรมชาติ จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเป็นการเฉพาะสำหรับแต่ละ SFIs รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจกำกับดูแลตามกฎหมาย Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 13

14 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) ในประเทศไทย
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives (BAAC) ธนาคารออมสิน (ธ.ออมสิน) Government Savings Bank (GSB) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) Government Housing Bank (GHB) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) Small and Medium Enterprise Development Bank of Thailand (SME Bank) ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า (ธสน.) Export-Import Bank of Thailand (EXIM Bank) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) Islamic Bank of Thailand (Ibank) บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) Small Business Credit Guarantee Corporation (SBCG) บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย (บตท.) Secondary Mortgage Corporation (SMC) ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 14

15 ความสำคัญของ SFIs เป็นเครื่องมือของภาครัฐในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในการกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อในระบบ โดยเฉพาะในช่วงวิกฤติ รวมทั้งการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์เฉพาะต่างๆ เช่น เวลาที่เกิดภัยธรรมชาติ จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายเป็นการเฉพาะสำหรับแต่ละ SFIs รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจกำกับดูแลตามกฎหมาย Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 15

16 บทบาทของ SFIs ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office
16

17 เป้าหมายการดำเนินงานหลักของ SFIs
แบ่งตามประเภทอุตสาหกรรม แบ่งตามลักษณะกลุ่มผู้รับบริการ SMEs ที่อยู่อาศัย เกษตร การเงินชุมชน / หนี้นอกระบบ ประชาชน รายย่อย / Microfinance ระบบการเงินตามหลักอิสลาม SFI ที่มีบทบาทหลัก ส่งออก: ธสน. ทั่วไป: ธพว. บสย. ธอส. บตท. ธ.ก.ส. เกษตร: ทั่วไป: ธ.ออมสิน ธอท. SFI ที่มีบทบาทรอง ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 17

18 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน เพื่อส่งเสริม อาชีพการเกษตรหรือการดำเนินงานของเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ตลอดจนส่งเสริมให้ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือ สหกรณ์การเกษตร สามารถ ประกอบอาชีพอย่างอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ ครอบครัวเกษตรกร รวมทั้งให้ บริการรับ-ฝากเงิน เช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ทั่วไป ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

19 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ ธนาคารออมสิน 1. เพื่อให้ประชาชนมีนิสัยในการออมทรัพย์ และ มีวินัยทางการเงิน ซึ่งจะส่งผลต่อระดับเงินออมของประเทศ 2. เพื่อให้ประชาชนในทุกพื้นที่ได้มีโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงินของสถาบันการเงินในระบบ 3. เพื่อให้ธนาคารมีศักยภาพในการแข่งขันทัดเทียมกับสถาบันการเงินอื่น 4. เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

20 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่ประกอบธุรกิจในการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนนำเงินไปลงทุนเกี่ยวกับการสร้างอาคารและที่ดินโดยตรง ทำหน้าที่เสมือนสื่อกลางในการนำเงินไปใช้ประโยชน์ในกิจการเคหะและเป็นสถาบันการเงิน ที่ดำเนินธุรกิจ รวมถึงการช่วยเหลือทางด้านการเงินเพื่อให้ประชาชนได้มีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

21 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.) ให้บริการทางการเงินเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขันของนักธุรกิจไทยในตลาด การค้าโลก ทั้งบริการที่ส่งเสริมและสนับสนุน การส่งออกสินค้าหรือบริการจากประเทศไทย รวมถึงกิจการที่ได้มาหรือสนับสนุนการได้มาซึ่งเงินตราต่างประเทศ บริการที่รองรับการนำเข้าและการลงทุนในส่วนที่จะเพิ่มขีดความสามารถ ในการส่งออกของประเทศ ตลอดจนการส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศอันจะส่งผลต่อการขยาย ฐานการค้าของประเทศไทย ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

22 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) ประกอบธุรกิจอันเป็นการพัฒนา ส่งเสริม ช่วยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดำเนินงาน การขยายหรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม โดยการให้สินเชื่อ ค้ำประกัน ร่วมลงทุน ให้คำปรึกษา แนะนำ หรือให้บริการ ที่จำเป็น ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

23 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (ธอท.) เป็นธนาคารสากลที่ดำเนินการตามหลักศาสนาอิสลามโดยไม่ผูกพันกับดอกเบี้ยและไม่เกี่ยวข้องกับกิจการที่ขัดต่อหลักศาสนาอิสลาม และให้บริการแก่ประชาชนทั่วไปโดยไม่จำกัดศาสนา ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

24 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม (บสย.) 1. ช่วยเหลืออุตสาหกรรมขนาดย่อมให้ได้รับสินเชื่อจากสถาบันการเงินได้จำนวนมากขึ้น 2. ช่วยให้สถาบันการเงินมีความมั่นใจในการให้สินเชื่อแก่อุตสาหกรรมขนาดย่อมมากยิ่งขึ้น 3. เร่งการกระจายสินเชื่อไปยังอุตสาหกรรมขนาดย่อมทั่วประเทศได้เร็วขึ้น 4. ช่วยให้การพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดย่อมบรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

25 สถาบันการเงินเฉพาะกิจ
บทบาทของ SFIs สถาบันการเงินเฉพาะกิจ วัตถุประสงค์ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อ ที่อยู่อาศัย (บตท.) พัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ด้วยการนำหลักการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์มาใช้ เพื่อให้สามารถระดมทุนสำหรับการขยายสินเชื่อ ที่อยู่อาศัยให้ได้มากเพียงพอและสม่ำเสมอ และเป็นการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยในวงกว้างขึ้น อันเป็นการช่วยแก้ไขปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศ ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

26 สถานะ SFIs ในระบบการเงินไทยในปัจจุบัน
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 26

27 SFIs มีบทบาทสำคัญในภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ
Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 27

28 สินเชื่อคงค้างของ ธพ. และ SFIs ในปัจจุบัน
หน่วย : พันล้านบาท SFIs 20.93% สินเชื่อ SFIs คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 20 ของสินเชื่อสถาบันการเงินรวม SFIs 19.14% ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

29 สถานะ ของ SFIs ในตลาดการเงิน
หน่วย : พันล้านบาท ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

30 การกำกับดูแล SFIs เพื่อป้องกันการเกิดภาระ ทางการคลังในอนาคต
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 30

31 หน่วยงานในการกำกับดูแล SFIs
กระทรวงการคลัง/สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เป็นผู้กำหนดแนวทางนโยบาย ความมั่นคง และพัฒนาขีดความสามารถ รวมถึงการตรวจสอบและกำกับดูแล (off-site examination) กระทรวงการคลัง/สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) เป็นตัวแทนรัฐบาลในการบริหารหลักทรัพย์ของรัฐในกิจการที่รัฐถือหุ้น รวมทั้งเสนอแนะนโยบาย, แผน, ระเบียบ, และมาตรการในการกำกับดูแล เพื่อพัฒนาและเพิ่มมูลค่ารัฐวิสาหกิจ สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบภายนอก ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เป็นผู้ตรวจสอบรัฐวิสาหกิจ (on-site examination) และนำเสนอต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง There are 4 main supervisory agencies : 1. Ministry of Finance (MOF) / Fiscal Policy Office (FPO) - involved in policy direction for SFIs’ operation related to government policy initiative and SFIs strengthening/capacity such as Public Service Account Scheme (PSA) and Strengthening Supervisory System. - Issue or legalize prudential regulation and defined in the Ministerial Regulation or Declaration. - Developing SFIs Reporting and Monitoring System for more effective off-site supervision 2. Ministry of Finance (MOF) / State Enterprise Policy Office (SEPO) - A major shareholder. - Responsible for appointment of SFIs Board of Directors - Established guidelines of Good Governance and Internal Control for SOE. Those key guidelines are 1) Code of Good Governance 2) Boards and State Enterprise employee Qualification Act B.E and 3) Audit Board Guideline and Qualification. All guidelines are publicly disclosed. - in cooperation with Thai Rating and Information Services (TRIS) has set up Performance Evaluation System (PES) for SOE performance assessment. 3. Bank of Thailand (BOT) - MOF has delegated on site examination of SFIs to BOT since 1999. - Currently, BOT has continuously performed on site examination of SFIs at least once a year and submitted an examination report to MOF and the Board of Directors for review and corrective action. - examined by using commercial bank approach and guideline which includes risk-based approach to define the gap between SFIs prudent performance and commercial bank’s. 4. Office of the Auditor General (OAG) All SFIs Acts define roles and responsibilities of OAG as an external auditor. In addition, all SFIs (except ISBT) are State Owned Enterprises which shall be audited by OAG (a state/public auditor). The accounts of SFIs have been audited at least once a year. ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 31

32 การกำกับดูแล SFIs ของ สศค.
1. การกำกับการดำเนินนโยบาย (Policy Supervisor) 2. การกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงินของ SFIs (Prudential Supervisor) 3. การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของ SFIs (Monitoring and Performance Evaluation) 4. การให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ SFIs (Financial Support) ปัจจุบันใช้แนวทางที่มีการปรับปรุงเมื่อพ.ศ.2549 ซึ่งมีเป้าหมายการปรับปรุงเกณฑ์กำกับความมั่งคงทางการเงินให้มีมาตรฐานเดียวกับธนาคารแห่งประเทศไทย ยกเว้นเกณฑ์ที่อาจกระทบกับการปฏิบัติพันธกิจและนโยบายของรัฐบาล ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 32

33 1. การกำกับการดำเนินนโยบาย (Policy Supervisor)
ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาบทบาทการทำงานของ SFIs จัดทำแนวทางการแยกบัญชีธุรกรรมนโยบายพิเศษของรัฐ การจัดทำแผนพัฒนาสถาบันการเงินเฉพาะกิจ Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 33

34 2. การกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงินของ SFIs (Prudential Supervisor)
เกณฑ์การกำกับดูแลความมั่นคงทางการเงิน (Prudential Regulation) การตรวจสอบความมั่นคงทางการเงิน การปฏิบัติตามมาตรฐานสากล Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 34

35 3. การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ของ SFIs (Monitoring and Performance Evaluation)
จัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของ SFIs ในลักษณะชุดข้อมูล (Dataset) ที่เป็นมาตรฐานเดียวกับธนาคารพาณิชย์ Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 35

36 4. การให้การสนับสนุนทางการเงินแก่ SFIs (Financial Support)
การให้เงินเพิ่มทุน การให้เงินชดเชย การให้กู้ยืมดอกเบี้ยต่ำ การได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษี Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 36

37 ความท้าทายในการกำกับดูแล SFIs
การให้ SFIs ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับเช่นเดียวกับธนาคารพาณิชย์ เช่น การปฏิบัติตาม Basel I & II และ IAS39 รวมถึง การบริหารความเสี่ยง ความโปร่งใสในการบริหารงานและการมีธรรมาภิบาล (good governance) ภายใน SFIs พัฒนาบทบาทของ SFIs ให้สามารถทำตามวัตถุประสงค์และจัดสรรทรัพยากรรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็งในระบบการเงินผ่าน SFIs There are 5 key challenges regarding SFI supervision MOF is aiming to restructure SFIs supervision towards the commercial bank standards. This include prudential regulation and concerned operation system. The challenges is to apply the necessary rule, regulation and guideline from International standard such as Basel 1 and 2 or IAS39 to specific SFI context. Due to the past experience, most of the recent problems stem from the lack of good governance in the SFIs. Therefore, an enhancement of transparency and good governance is required. The roles of SFIs should exist in the Thai financial system. However, the challenge is how the supervisory agencies supervise and regulated SFIs with restricted government resource. SFI roles in term of lending and deposit taking increase its significant, as a result a strengthening in financial soundness is need. This could be done by sharing SFIs resource, improving infrastructure such as laws, MIS/IT and human resources. ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 37

38 ช่องทางส่งผ่านภาระการคลัง จากการดำเนินงานของ SFIs
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 38

39 ช่องทางส่งผ่านภาระการคลัง จากการดำเนินงานของ SFIs
การเพิ่มทุน การชดเชย/ให้เงินอุดหนุน ปัจจุบัน: ชดเชยโดยตรงตามที่ได้รับการอนุมัติตามมติคณะรัฐมนตรี อยู่ระหว่างดำเนินการ: โครงการแยกบัญชีธุรกรรมนโยบายรัฐ (Public Service Account : PSA) ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 39

40 1. การเพิ่มทุน SFIs ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office
40

41 กระบวนการเพิ่มทุนของ SFIs
สศค. สคร. 1 2 ประชุมผู้ถือหุ้น ขออนุมัติแผนการเพิ่มทุนจากผู้ถือหุ้น เสนอแผนการเพิ่มทุน ตรวจสอบแผนการ เพิ่มทุน และจัดทำบทวิเคราะห์ 3 4 รมต.คลัง และ คณะรัฐมนตรี สคร. สำนักงบประมาณ อนุมัติแผน การเพิ่มทุน To be presented by SEPO เสนอแผน การเพิ่มทุน อนุมัติเงินเพิ่มทุน 5 6 รัฐสภา ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 41

42 การเพิ่มทุนให้ SFIs โดยกระทรวงการคลัง ในปีงบประมาณ 2551-2552
หน่วย: ล้านบาท SFIs 2551 2552 ธ.ก.ส. 1,000 2,000 ธอส. - 3,000 ธพว. 600 2,500 ธสน. 1,300 5,000 ธอท. 6,000 บสย. บตท. 100 Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office 42

43 2. การชดเชยให้เงินอุดหนุน
ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 43

44 การชดเชย/ให้เงินอุดหนุน
ปัจจุบัน: ชดเชยตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ ชดเชยส่วนต่างของอัตราดอกเบี้ย เช่น โครงการรถบริการสาธารณะ ของ ธอท. ชดเชยอัตราค่าธรรมเนียม เช่น โครงการ Portfolio Guarantee Scheme ระยะที่ 2 ของ บสย. ชดเชยรายได้ เช่น โครงการประกันรายได้เกษตรกร ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และมันสำปะหลังของ ธกส. ให้เงินอุดหนุนในการพัฒนาศักยภาพ เช่น โครงการสินเชื่อลีสซิ่งและเช่าซื้อ และสินเชื่อแฟคตอริ่ง ของ ธพว. ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office Fiscal Policy Office 44

45 โครงการแยกบัญชีธุรกรรมนโยบายรัฐ Public Service Account (PSA)
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ SFIs สามารถดำเนินงานบนพื้นฐานความอยู่รอดด้วยตนเองในระยะยาว (Self-sustainability) และสามารถดำเนินธุรกรรมนโยบายรัฐเพื่อฟื้นฟูหรือช่วยเหลือกลุ่มประชาชนและธุรกิจเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้กระทรวงการคลังสามารถกำกับ ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานของสถาบันการเงินเฉพาะกิจสำหรับการดำเนินธุรกรรมตามนโยบายรัฐและธุรกรรมเชิงพาณิชย์ได้อย่างถูกต้อง ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

46 SFIs มีการบริหารจัดการธุรกรรมนโยบายรัฐ ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง
เงื่อนไขในการที่ SFI จะได้รับการอุดหนุนหรือชดเชยจากงบประมาณในโครงการ PSA SFIs มีการบริหารจัดการธุรกรรมนโยบายรัฐ ด้วยความรอบคอบระมัดระวัง SFIs มีการนำระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพมาใช้กับธุรกรรมนโยบายรัฐ SFIs มีการป้องกันปัญหา Moral Hazard SFIs แยกบัญชีโดยใช้หลักการบัญชีตามมาตรฐานที่ยอมรับได้ เงื่อนไขการได้รับชดเชยจากงบประมาณ ในการเสนอขอเงินชดเชยที่สถาบันการเงินเฉพาะกิจสูญเสียไปจากการดำเนินธุรกรรมนโยบายรัฐจากงบประมาณให้กระทรวงการคลังพิจารณา สถาบันการเงินเฉพาะกิจต้องแสดงให้เห็นว่าสถาบันการเงินเฉพาะกิจนั้น มีการบริหารจัดการธุรกรรมนโยบายรัฐ ด้วยความรอบคอบระมัดระวังและได้ใช้ความพยายามอย่างดีที่สุดเพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดกับธุรกรรมนโยบายรัฐ มีการนำระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพมาใช้กับธุรกรรมนโยบายรัฐ มีการป้องกันปัญหา Moral Hazard ซึ่งได้แก่ การนำต้นทุนค่าใช้จ่ายของธุรกรรมเชิงพาณิชย์มาคำนวณเป็นต้นทุนธุรกรรมนโยบายรัฐ หรือการนำค่าใช้จ่ายจากการบริหารธุรกรรมนโยบายรัฐที่ผิดพลาดมาขอชดเชยจากรัฐบาล แยกบัญชีโดยใช้หลักการบัญชีตามมาตรฐานที่ยอมรับได้ ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office

47 Q & A Fiscal Policy Office ผศ.ดร.กฤษฎา สังขมณีFiscal Policy Office


ดาวน์โหลด ppt นโยบายกึ่งการคลังกับบทบาทสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google