งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย

2 วิกฤตสุขภาพเด็กไทย

3 คอพอก 7 % เตี้ยแคระ แกร็น 7 % ซีดจากขาด เหล็ก 4 % สมาธิสั้น 2.4-8%
โรคอ้วน 13.8 % เตี้ยแคระ แกร็น 7 % ซีดจากขาด เหล็ก 4 % สมาธิสั้น 2.4-8% ปี – IQ ปี IQ <70 ปี 2552 เด็กไทย 1 ใน 4 (ร้อยละ 25) สมองทึบ ผลสัมฤทธิ์จากการสอบของเด็ก ป.6 ได้คะแนนเฉลี่ยบางวิชาไม่ถึง 50 สอบผ่านเกณฑ์ 50 คะแนนเพียงร้อยละ เทียบกับต่างประเทศได้คะแนนเฉลี่ยวิชาคณิตศาสตร์อันดับที่ 29 จาก 59 ประเทศ วิทยาศาสตร์อันดับที่ 21 สิงคโปร์ เกาหลี ไต้หวัน และญี่ปุ่นอยู่ใน 10 อันดับแรก Learning Disorder 6-9.95% ปัญหาสายตา % ปัญหาการได้ยิน %

4 ทุพโภชนาการ เกิดจาก.... ครอบครัวและชุมชนขาดความรู้/เข้าใจและทักษะด้านอาหารและโภชนาการ สิ่งแวดล้อมไม่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ การบริหารจัดการด้านโภชนาการในระดับพื้นที่ยังต้องการปรับปรุงแก้ไข (โดยเฉพาะกลไกการทำงานของสามภาคส่วน คือท้องถิ่น ชุมชน และประชาชน ขาดการบูรณาการและจัดการที่ดีเพื่อเด็กไทยมีโภชนาการสม)

5 วัตถุประสงค์โครงการฯ
เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถนะของ อปท. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก สถานรับเลี้ยงเด็ก และชุมชน รวมทั้งภาคีเครือข่าย ในการพัฒนาพฤติกรรมโภชนาการที่พึงประสงค์ เพื่อนำไปสู่การมีโภชนาการสมวัยของทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียน 5

6 พื้นที่นำร่อง 9 จังหวัด
ภาคกลาง สมุทรปราการ นนทบุรี เพชรบุรี ภาคเหนือ ลำปาง เชียงใหม่ ภาคใต้ สงขลา ภูเก็ต ภาคอีสาน อุดรธานี ขอนแก่น

7 ระยะเวลา การดำเนินงาน
ปีที่ 1 : พ.ค. 52 – เม.ย. 53 ปีที่ 2 : พ.ค. 53 – เม.ย. 54 ปีที่ 3 : พ.ค. 54 – เม.ย. 55 7

8 Ultimate Goal ปี 2555 Outcome ปี 2554 - 2555
แนวโน้มของทารก เด็กวัยก่อนเรียน และเด็กวัยเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีภาวะโภชนาการสมวัยเพิ่มขึ้น Outcome ปี แม่และผู้ให้อาหารเด็กมีพฤติกรรมการให้อาหารที่ถูกต้องตาม โภชนบัญญัติทารกและเด็กเล็ก ทารก เด็กวัยก่อนเรียน เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมโภชนาการ ที่พึงประสงค์ มีนโยบายสาธารณะด้านอาหารและโภชนาการในระดับองค์กร ระดับท้องถิ่น และระดับชาติ

9 Output ปี Best Practice Model การพัฒนาสู่องค์กรที่พึงประสงค์ ด้านโภชนาการ (อปท. / ชุมชน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก / บ้านรับเลี้ยงเด็ก /สถานรับเลี้ยงเด็ก/โรงเรียน) ข้อเสนอนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในระดับองค์กร ระดับท้องถิ่น เพื่อผลักสู่นโยบายระดับชาติ

10 (ร่าง) นิยาม : องค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ
(ร่าง) นิยาม : องค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ (ชุมชน / ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก /บ้านรับเลี้ยงเด็ก /สถานรับเลี้ยงเด็ก/โรงเรียน) องค์กรที่มีการดำเนินงานงานอาหารและโภชนาการ มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 : การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม องค์ประกอบที่ 2 : การบริหารจัดการอาหารโรงเรียนที่มีคุณภาพและ ได้มาตรฐานโภชนาการ องค์ประกอบที่ 3 : การจัดปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีพฤติกรรมโภชนาการฯ องค์ประกอบที่ 4 : การติดตามประเมินผล และการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ องค์ประกอบที่ 5 : การบริหารจัดการที่ทำให้เกิดองค์กรที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ ผ่านกระบวนการถอดบทเรียนด้านการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการที่ดี ในการ บูรณาการงานอาหารและโภชนาการสู่งานประจำแบบมีส่วนร่วม จากทุกภาคส่วนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน


ดาวน์โหลด ppt โครงการพัฒนาระบบและกลไก เพื่อพัฒนาเด็กไทย มีโภชนาการสมวัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google