งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา
นพ.วิรัช พันธ์พานิช ผู้อำนวยการโรงพยาบาลนครพิงค์ 29 สิงหาคม 2557

2 การคัดแยกกลุ่มผู้ป่วยหรือกลุ่มเฝ้าระวังเป็น 3 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วย มีไข้มากกว่า 38’Cและมาจากประเทศกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเฝ้าระวังที่พบว่ามีไข้มากกว่า 38’C ทีหลัง กลุ่มที่ 2 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง( closed contact) บุคคลที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย บุคคลที่นั่งใกล้กับผู้ป่วยรอบๆแถวหน้า แถวหลังและด้านข้างรวม 6-8 คน กรณีที่โดยสารกับเครื่องบิน กลุ่มที่ 3 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ กลุ่มบุคคลที่ไม่ได้ใกล้ชิดโดยตรงกับผู้ป่วย เช่นบุคคลที่โดยสารเครื่องบินที่อยู่นอกเหนือจากแถวที่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย บุคคลที่พบว่ามาจากประเทศกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

3 การคัดแยกกลุ่มผู้ป่วยหรือกลุ่มเฝ้าระวังเป็น 3
กลุ่มที่ 2 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง( closed contact) กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้ป่วย กลุ่มที่ 3 กลุ่มเฝ้าระวังที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ Admit โรงพยาบาล นครพิงค์ 2 เตียง โรงพยาบาลมหาราช 2 เตียง เฝ้าระวังในโรงพยาบาล โรงพยาบาล สันป่าตอง 12 เตียง โรงพยาบาล สารภี 12 เตียง ใช้ชุดป้องกันแบบปรกติ( Level D) เฝ้าระวังที่บ้านหรือโรงแรม จัดทีมควบคุมโรค/SRRT/รพ.สต.เข้าไปเฝ้าติดตามวัดไข้วันละ 2 ครั้ง มีไข้มากกว่า 38’C

4 การลำเลียงผู้ป่วยในกลุ่ม 1 ใช้รถ รพ
การลำเลียงผู้ป่วยในกลุ่ม 1 ใช้รถ รพ. นครพิงค์ ยกเว้น สายเหนือ( ฝาง แม่อาย ไชย ปราการณ์) ใช้รถ รพ.ฝาง สายใต้ตั้งแต่ดอย หล่อลงไปใช้ รพ.จอมทอง การลำเลียงผู้ป่วยในกลุ่ม 2 ใช้รถ รพ. สันป่าตอง หรือ รพ.สารภี

5 แนวทางการประสานรับผู้ป่วย EBOLA จากสนามบิน โรงพยาบาลนครพิงค์

6 สรุปประเด็นที่ต้องหารือ
ประเด็น PPE level c ให้ ติดตามการสนับสนุน จาก ส่วนกลาง โดยประสานผ่าน สสจ.ชม และให้ ครอบคลุม ถึง รพช. และ รพ.มหาราชฯ สำรอง 100 set เบื้องต้น ให้เสนอต่อ สคร.10/ตม./สสจ.ชม ควรคัดกรองและวัดไข้ บนเครื่องบิน ขอความร่วมมือจากสายการบิน โดยเฉพาะ ประเทศเสี่ยง ในที่ประชุม การจัดการภายใน รพ.นครพิงค์ หาก3/4 มีเคส อื่นๆเช่นTB ควรย้ายออก จาก ¾ ลงward อื่นๆ หรือย้ายกลับ รพช.ช่วยรักษา

7 สรุปประเด็นซ้อมแผนรับมือEbola จากท่าอากาศยาน นานาชาติเชียงใหม่ - รพ

8 1.การใช้ CODE เฉพาะ ในการสื่อสาร เพื่อความปลอดภัย ในการสื่อสาร ส่งต่อผู้ป่วยมีมติให้ใช้ code 111
2.การรับแจ้งเหตุของ 1669 ต้องชัดเจน (รายละเอียดของเคส) หรือว่าควรให้แจ้ง call center เพื่อถามรายละเอียดของผู้ป่วยเพื่อเตรียมออกไปรับ ไม่ควรรีบร้อน ควรแต่งชุด ให้ปลอดภัย เหมาะสมที่สุด 3.การใช้PPE หรือระดับการใช้ PPE ใครบ้างที่ควรใส่ level C

9 4.ระยะเวลาในการรายงานเคสแก่แพทย์เวร(อายุรกรรม/กุมารเวชกรรม)ควรให้เวลา เต็มที่ เพื่อการเตรียม ชุด เตรียมเตียง เตรียมเจ้าหน้าที่ไม่ควรรีบเร่ง 5.ในที่ประชุม ไม่เห็นด้วย ที่จะให้พขร.ช่วย เข็นเปล หรือcontactผู้ป่วย ไม่จำเป็นต้องแต่งชุด PPE (สถานการณ์)คือผู้ป่วย เดินได้ไม่หนัก ให้เดินขึ้นรถเองรวมถึงเจ้าหน้าที่ ที่ไปรับอาจแค่ 1 คน 6.ควรมี Standing Order

10 7.กรณี ต้องส่ง lab ทีมระบาด (ผู้สอบสวนโรค )หากได้รับแจ้งจาก แพทย์หรือจากพยาบาลผู้ดูแลผู้ป่วย ให้แจ้ง สสจ.ชม และ สคร.10 เพื่อ สคร.10ประสานศูนย์วิทย์ ชม.มารับ labที่ห้องผู้ป่วย 8.ประเด็นเรื่องค่าตอบแทน ผู้ปฏิบัติงาน หรือเงินเพิ่มพิเศษ 9.ประเด็นเรื่องการจัดทำ แนวทางรับผู้ป่วย กรณี รับrefer หรือกรณี walk in

11 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการคัดแยกและเฝ้าระวังผู้ป่วยเมื่อสงสัยการติดเชื้ออีโบรา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google