งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ

2 แนวคิดในการสอบสวนโรค
เตรียมให้พร้อม(4M+KM+Team) ตรวจให้พบ ตีให้เร็ว ตามให้หมด

3 กำจัดแหล่งโรค / ปัจจัยเสี่ยง สร้างเสริม ความต้านทาน
ระบาดวิทยา แหล่งโรค/รังโรค คนที่มีความไวรับ / กลุ่มเสี่ยง เชื้อโรค / ปัจจัยเสี่ยง วิธีการถ่ายทอดโรค หลักการป้องกันและควบคุมโรค กำจัดแหล่งโรค / ปัจจัยเสี่ยง ตัดการ ถ่ายทอดโรค สร้างเสริม ความต้านทาน

4 ตรวจให้พบ ผู้ป่วยจากชุมชนเดียวกันหรือสถานที่ที่มีขอบเขตชัดเจน เช่น โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ตั้งแต่ 2รายใน 1 สัปดาห์ หัวใจสำคัญอยู่ที่เครือข่ายแจ้งข่าว ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ แหล่งข่าว Event base จากครูในโรงเรียน ครูศูนย์เด็ก อสม. ผู้นำ Case base(506) จากเจ้าหน้าที่ระบาดฯรพ./OPD

5 ตีให้เร็ว ประชุมทีมตั้งวัตถุประสงค์ที่ออกสอบสวนโรคแบ่งบทบาทหน้าที่และเตรียมอุปกรณ์สอบสวน เก็บตัวอย่าง การกำหนดวัตถุประสงค์โดยทั่วไป -ยืนยันการวินิจฉัย ยืนยันการระบาด -การกระจายของโรคตามบุคคล สถานที่ เวลา -สาเหตุ/แหล่งโรค วิธีการถ่ายทอดโรค -หามาตรการป้องกันควบคุมโรค ลงพื้นที่สอบสวนภายใน 24 ชม.หลังจากรับแจ้ง

6 6 6

7 7 7

8 ตัวอย่าง การตั้งนิยามการค้นหาผู้ป่วย
การสอบสวนโรคมือเท้าปาก นิยามผู้ป่วย คือเด็กที่มาเรียนในศูนย์เด็กเล็กเทศบาลเมืองพิบูล ต.พิบูล อ.พิบูล จ.อุบลราชธานี โดยมีอาการตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป ดังนี้ ตุ่มแผลที่ปาก ไข้ ตุ่มแผลที่ฝ่ามือ ตุ่มแผลที่ฝ่าเท้า ตุ่มแผลที่ ก้น ตุ่มแผลในปาก ในระหว่างวันที่ กุมภาพันธ์ 2556 8 8

9 ออกแบบแบบฟอร์มการค้นหาผู้ป่วย
9 9

10 ตัวอย่างแบบฟอร์มการค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม
10 10

11 ลงพื้นที่สอบสวนโรคตามให้หมด
หาก มีผู้ป่วย นอนอยู่โรงพยาบาล???? ดูจากแฟ้มประวัติของผู้ป่วย ประวัติการเจ็บป่วย วันที่เริ่มป่วย วันที่รับรักษา ผล LAB เบื้องต้น เช่น CBC การวินิจฉัยของแพทย์ ซักถามข้อมูลจากผู้ป่วย และญาติเพิ่มเติม เก็บตัวอย่างยืนยันกรมวิทย์ Throat swab ใส่Media สีชมพู (พบยังมีอาการนับจากเริ่มป่วยใน 7วัน) 11 11

12 ลงพื้นที่สอบสวนโรค ในชุมชน บ้านผู้ป่วย ทำอย่างไร???
สำรวจ สภาพแวดล้อมรอบบ้าน ในบ้าน ห้องนอน ฯลฯ สอบถามญาติผู้ป่วย สำรวจสภาพแวดล้อมในชุมชน ค้นหาผู้ป่วยและผู้สัมผัสเพิ่มเติม ตามนิยามในการค้นหา ถ้าพบยังมีอาการนับจากเริ่มป่วยไม่เกิน 7วันเก็บ Throat swab หรือเกิน 7วันขึ้นไปนัดหมาย เก็บ Stool ส่งกรมวิทย์ยืนยัน สอบถามถึงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคนั้นๆ 12 12

13 ลงพื้นที่สอบสวนโรค(ต่อ)
ดำเนินการควบคุมการระบาดจากแหล่งโรคร่วม จัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชน ศูนย์เด็ก โรงเรียน การสื่อสารแจ้งสถานการณ์ให้ประชาชนเข้าใจ ค้นหาผู้ป่วยและผู้สัมผัสเพิ่มเติม ตามนิยามในการค้นหา โรค 13 13

14 การรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
14 14

15 รวบรวมข้อมูลทางระบาดวิทยาเชิงพรรณนา
15 15

16 การศึกษาสภาพแวดล้อมในพื้นที่
รายละเอียดที่ควรเพิ่มเติม - ลักษณะของสถานที่เกิดโรค ความแออัด การถ่ายเทของอากาศ ความสะอาด - อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกัน เช่น เตียง หมอน แก้วน้ำ แปรงสีฟัน ของ เล่น ฯลฯ - ความสะอาดของสถานที่ที่ต้องใช้ร่วมกัน เช่น ห้องน้ำ ห้องส้วม สระว้ายน้ำ สนามเด็กเล่น ลูกบิดประตู พิจารณาจาก : ความถี่ ของการใช้ วิธีการทำความสะอาด - สิ่งอำนวยความสะดวกในการป้องกันเช่น อ่างล้างมือ สบู่ 16 16

17 การวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์การระบาด
17 17

18 กำหนดมาตรการการควบคุมการระบาดของโรค
ควรสอดคล้องกับผลการสอบสวนการระบาดที่พบ การควบคุมการระบาดในโรงเรียน ศูนย์เลี้ยงเด็ก แยกผู้ป่วย แจ้งเตือน ปิดสถานที่ กำจัดเชื้อในสิ่งแวดล้อม , ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม 18 18

19 กลับจากสอบสวนโรค วิเคราะห์ข้อมูล เชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ของการเกิดโรค
นำข้อมูลทั้งหมดที่ได้มา มาเรียบเรียงข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล เชื่อมโยงหาความสัมพันธ์ของการเกิดโรค พฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคนั้นๆ หรือปัจจัยเสี่ยง ตรวจสอบสมมติฐาน (โรคมีการแพร่ได้อย่างไร อะไรคือสาเหตุ แหล่งโรคอยู่ที่ใด ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้กลุ่มเสี่ยงป่วย) ผลการควบคุมป้องกันโรค เฝ้าระวังหลังการสอบสวนเป็นอย่างไร กี่วันโรคจึงสงบ Re check ว่า ทำครบตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ 19 19


ดาวน์โหลด ppt การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google