งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( 1993-1997 ) ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( 1993-1997 ) ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( 1993-1997 ) ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( 1993-1997 )

3 การวิจัยเพื่อ พัฒนาภาวะผู้นำ และอาจารย์ใน อุดมศึกษาไทย

4 @ วิเคราะห์แนวระบบ @ วัตถุประสงค์ @ ประวัติ @ กรณีศึกษา….

5 การวิจัยเพื่อพัฒนาภาวะ ผู้นำและอาจารย์ใน อุดมศึกษาไทย @ การดำเนินการ @ วิเคราะห์ข้อมูล @ เสนอผลการวิจัย @ นวัตกรรมระบบ

6 ขอบเขตการวิจัย @ การอุดมศึกษา ในสถาบันสังกัด คณะกรรมการ อุดมศึกษาแห่ง ชาติ่

7 ขอบเขตการวิจัย @ มหาวิทยาลัย สถาบันของรัฐ @ มหาวิทยาลัย และวิทยาลัย เอกชน @ สถาบันราชภัฎ @ สถาบันราช มงคล

8 ขอบเขตการวิจัย @ ผู้บริหารหมายถึง @ หัวหน้า/รอง/ผู้ช่วย แต่ละสถานศึกษา @ อธิการบดี/รอง/ผู้ช่วย คณบดี/ผู้อำนวยการ

9 ขอบเขต @ สถาบันและ มหาวิทยาลัย ของรัฐ 21 สถาบัน @ เอกชน 51 สถาบัน @ สถาบันราชภัฎ 41 แห่ง @ สถาบันราชมงคล 40 แห่ง

10 ขอบเขต @ ผู้ใต้บังคับ บัญชาหมายถึง @ ผู้ที่ไม่ได้เป็นผู้ บริหาร

11 ขอบเขตการวิจัย @ สถาบัน ราชมงคล @ 40 วิทยาเขต 15 คณะวิชา

12 ขอบเขตการวิจัย @ อาจารย์ หมายถึง ผู้ทำหน้าที่สอน

13 ขอบเขตการวิจัย @ อาจารย์ มหาวิทยาลัย ของ รัฐ 20,700 เอกชน 9,490 ราชภัฎ 7,376

14 ขอบเขตการวิจัย @ ผู้เรียน หมายถึง นิสิต นักศึกษาที่ เรียนในระดับ ปริญญา

15 วิเคราะห์แนวระบบ @ ผู้บริหาร อุดมศึกษาไทย ประสพ ความสำเร็จด้าน วิชาการควร เสริมเติมเต็ม ทางการบริหาร และภาวะผู้นำ จริงหรือไม่

16 วิเคราะห์แนวระบบ @ อาจารย์ ระดับอุดมศึกษา ไทยประสพ ความสำเร็จด้าน วิชาการควรเสริม เติมเต็มทางการ วิจัยและนวัตกรรม ในวิชาการและ วิชาชีพที่เข้มข้น ระดับสากล

17 วิเคราะห์แนวระบบ @อาจารย์ ระดับอุดมศึกษา ไทยประสพ ความสำเร็จด้าน วิชาการควรเสริม เติมเต็มทางการ จัดระบบการเรียน การสอนโดยให้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ หรือไม่

18 วิเคราะห์แนวระบบ @ ควรมีระบบการ พัฒนาภาวะ ผู้นำและ อาจารย์ที่มี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เหมาะสมกับการ อุดมศึกษาไทย

19 วิเคราะห์แนวระบบ @ เนื่องจาก ผู้บริหารและ อาจารย์มีภาระ งานมากควร แสวงหาระบบ การพัฒนา บุคคลากรที่….

20 วิเคราะห์แนวระบบ …. สามารถ พัฒนาผู้บริหาร และ/หรือ อาจารย์โดยการ พัฒนาบุคคล และพัฒนางาน เป็นหนึ่งเดียว

21 วิเคราะห์แนวระบบ @ สามารถพัฒนา ผู้บริหารและ/ หรืออาจารย์ โดยใช้เวลา พัฒนาส่วนใหญ่ ในที่ทำงาน

22 วิเคราะห์แนวระบบ @ พัฒนา ผู้บริหารและ อาจารย์ โดย่ จัดในที่ทำงาน ที่บ้านและ/หรือ ท้องถิ่นที่อยู่ อาศัยเป็นส่วน ใหญ่

23 วิเคราะห์แนวระบบ @ จัดให้ผู้บริหาร และอาจารย์ พัฒนาตนเอง และทบทวนการ เรียนรู้ได้ ตลอดเวลา

24 วิเคราะห์แนวระบบ @ จัดให้ผู้บริหาร และอาจารย์ ได้ มีประสบการณ์ ตรงและการ สัมมนา แก้ปัญหาตาม ความเหมาะสม

25 วิเคราะห์แนวระบบ @ผู้บริหารควร เน้นการสัมมนา และอาจารย์เน้น การปฎิบัติใน สถานการณ์ จำลองและ สถานการณ์จริง ดีหรือไม่

26 วิเคราะห์แนวระบบ @หลักสูตร ภาวะผู้นำ ควรแยกออกจาก หลักสูตรการบริหาร ทั่วไปโดยให้ศึกษา เฉพาะหลักสูตรการ บริหารการศึกษา ดี หรือไม่

27 วัตถุประสงค์ @เพื่อศึกษาทักษะและ รูปแบบที่ผู้บริหาร ต้องการและจำเป็น เพื่อพัฒนาภาวะผู้นำ @เพื่อศึกษาทักษะ จำเป็นของผู้บริหารที่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ต้องการ๑

28 วัตถุประสงค์ @เพื่อศึกษา เปรียบเทียบทักษะที่ ผู้บริหารควรมีและ จำเป็นกับทักษะ จำเป็นของผู้บริหารที่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ต้องการ

29 วัตถุประสงค์ @เพื่อแสวงหารูปแบบ การพัฒนาภาวะผู้นำ ที่ผู้บริหารต้องการ

30 วัตถุประสงค์ @เพื่อศึกษา เปรียบเทียบทักษะที่ จำเป็นของอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย จากอาจารย์ ผู้บริหารและผู้เรียน

31 วัตถุประสงค์ @เพื่อแสวงหารูปแบบ การพัฒนาทักษะที่ จำเป็นของอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทยที่ นักศึกษา อาจารย์ และผู้บริหารต้องการ

32 วัตถุประสงค์ @เพื่อแสวงหาระบบ การพัฒนาภาวะผู้นำ และอาจารย์ใน ระดับอุดมศึกษาที่ เหมาะสมกับประเทศ ไทย

33 ประวัติการพัฒนา @ 2400 ส่ง บุคลากรไปดู งาน ต่างประเทศ

34 ประวัติการพัฒนา @ 2500 ส่ง บุคลากรไป เรียน ต่างประเทศ

35 ประวัติการพัฒนา @ โครงการ ร่วมมือ ระหว่าง มหาวิทยาลัย อินเดียนากับ กระทรวงศึก ษาธิการ

36 ประวัติการพัฒนา @ 2510 เริ่มจัด การศึกษาการ บริหาร การศึกษาและ การอุดมศึกษา ในประเทศไทย

37 ประวัติการพัฒนา @ 2520 เริ่ม จัดการศึกษา ระดับปริญญา เอกในประเทศ ไทย

38 ประวัติการพัฒนา @ 2530 เริ่มจัด การศึกษาการ บริหารการศึกษา และการอุดมศึกษา ระดับปริญญาเอก ในประเทศไทย

39 ประวัติการพัฒนา @ 2530 เริ่มจัด โครงการ Shadow ทบวงมหาวิทยาลัย ร่วมกับ มหาวิทยาลัยใน ต่างประเทศ

40 ประวัติการพัฒนา @2535 เริ่มมีการจัด อบรมผู้บริหารและ ผู้นำการอุดมศึกษา ในโครงการของ ทบวงมหาวิทยาลัย

41 ประวัติการพัฒนา @ 2537 เริ่มมีการ จัดอบรมผู้บริหาร และผู้นำการ อุดมศึกษาใน โครงการของ RIHED SEAMEO

42 กรณีศึกษา ต่างประเทศ @ กรณีศึกษาผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษา ไทยฝึกอบรมภาวะ ผู้นำที่มหาวิทยาลัย ฮาวาร์ด ประเทศ สหรัฐอเมริกา

43 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ ฝึกอบรมการจัด การศึกษา @ ระยะเวลา 2 สัปดาห์ @ ณ. มหาวิทยาลัยฮา วาร์ด

44 กรณีศึกษาฮาวาร์ด b หัวข้อฝึกอบรมเช่น b Faculty- facilitated b Leadership in Organizations b External Leadership

45 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Reflection on Acedemic Leadership @ Leadership in Organizations @ Faculty- Facilitated @ Governance

46 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Financial Management @ Technology Decisions @ Participative Budgeting @ Technology, Markets,and Students

47 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Educational Philanthropy @ Trusteeship and the Management of Resources

48 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Higher Educational and the Federal Government: Policy, Politics, and Perception

49 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Effective Senior Leadership Teams @ Community and Diversity

50 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Moral and Ethical Dimensions of Leadership @ The Changing Environment

51 กรณีศึกษาฮาวาร์ด @ Pay, Performance, Motivation, and Rewards @Tranformation learning

52 กรณีศึกษาฮาวาร์ด b Planning, Governance, and Resource Allocation b Emerging Challenges and Opportunities

53 กรณีศึกษาฮาวาร์ด b Fostering Institutional Change and Innovation b Box Preparation for Shipment of Curriculum Materials

54 กรณีศึกษาRIHED b Regional Institute of Higher Education & Development : RIHED

55 กรณีศึกษาRIHED b 1998 SEAMEO RIHED ร่วมมือ กับ จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย จัด Regional Workshop on University Management

56 กรณีศึกษาRIHED b 1997 SEAMEO RIHED with the support of the Government of New Zealand and the MUA. Thailand

57 กรณีศึกษาRIHED b 1997 Regional Workshop on Curriculum Development for Economics Teaching and Training for...

58 กรณีศึกษาRIHED b ….Transitional Economies in the Greater Mekong Subregion.

59 กรณีศึกษาRIHED b 2002 ด้วยความ ร่วมมือของ ประเทศ ออสเตรเลียและ มหาวิทยาลัย บูรพาได้จัด อบรมการสอน ปฎิบัติการ วิชาฟิสิคส์

60 กรณีศึกษาRIHED

61 กรณีศึกษา DERRC b 1997 Distance Education Regional Resources Center : DERRC จัดสัมมนาเรื่อง การจัดการศึกษา ผ่านดาวเทียมของ สมาชิกในภูมิภาค เอชียและแปซิฟิค

62 กรณีศึกษา เวียตนาม b 1998 ประเทศ เวียตนามได้ร้อง ขอผ่าน กรมวิเทศสหการ ให้จัดอบรม อธิการบดี รองอธิการบดีและ คณบดี

63 กรณีศึกษา เวียตนาม b มหาวิทยาลัยเปิด ของเวียตนาม ทั้งหมดโดย รัฐบาลไทยและ เวียตนามร่วมออก ค่าใช้จ่ายและมอบ ให้ มหาวิทยาลัยสุโข ทัยธรรมาธิราช จัดอบรม ณ.กรุง ฮานอย

64 กรณีศึกษาโคฮอร์ท b ความร่วมมือผลิต ดุษฎีบัณฑิตของ Oklahoma State University กับ มหาวิทยาลัย สยาม จำนวน 8 คน สำเร็จในปี 2545

65 กรณีศึกษาโคฮอร์ท b ความร่วมมือผลิต ดุษฎีบัณฑิตของ Oklahoma State University กับ มหาวิทยาลัย สยามโดยใช้ นวัตกรรม เทคโนโลยี การเรียนการสอน อุดมศึกษา

66 กรณีศึกษาไทย b ประเทศไทยได้มี การพัฒนา อาจารย์ใน ระดับอุดมศึกษา เพื่อพัฒนาระบบ การเรียนการสอน มาก่อนปี 2500

67 กรณีศึกษาไทย b โดยทุก มหาวิทยาลัยใน ประเทศไทย ตระหนักดีว่า อาจารย์ส่วนใหญ่ เรียนจบวิชาการ ตามวิชาชีพ

68 กรณีศึกษาไทย b อาจารย์ทุกคน ต้องการพัฒนา ระบบการเรียนการ สอนโดยเฉพาะ การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยีการ เรียนการสอนที่ เหมาะสม

69 กรณีศึกษาไทย b 2510 จุฬา ลงกรณ มหาวิทยาลัย คณะแพทย์ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิด ลและมหาวิทยาลัย อื่นๆ

70 กรณีศึกษาไทย b 2510 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้แผ่นใสในระบบ การเรียนการสอน

71 กรณีศึกษาไทย b 2520 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้ระบบโทรทัศน์ ในระบบการเรียน การสอน

72 กรณีศึกษาไทย b 2530 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้ระบบโทรทัศน์ ปฎิสัมพันธ์และ Tele.Ed.Confere ncingในระบบการ เรียนการสอน

73 กรณีศึกษาไทย b 2540 ส่งเสริม ให้อาจารย์ทุกท่าน ใช้ระบบe- education และe- learning ในระบบ การเรียนการสอน

74 กรณีศึกษาไทย b มีข้อควรศึกษาว่า การพัฒนาการ เรียนการสอนใน อดีตเน้นเรื่องการ ใช้สื่อมากกว่าการ พัฒนาระบบการ เรียน การสอนทั้ง ระบบโดยเนัน ผู้เรียนเป็นสำคัญ

75 กรณีศึกษาไทย b มีข้อควรศึกษาว่า การพัฒนาการ เรียนการสอนใน อดีตเน้นเรื่องการ ใช้สื่อมากกว่าการ พัฒนาระบบการ เรียน การสอนทั้ง ระบบที่เนัน ผู้เรียน เป็นสำคัญ

76 กรณีศึกษาไทย b 2542 มี การพัฒนา ผู้บริหาร อุดมศึกษา โดย ทบวงมหาวิท ยาลัย

77 กรณีศึกษาไทย b มีหลักสูตรการ ฝึกอบรมผู้บริหาร ระดับสูงเช่น คณบดี

78 กรณีศึกษาไทย b มีหลักสูตรการ ฝึกอบรมที่ น่าสนใจ เช่น b การวิเคราะห์ ประเด็น ยุทธศาสตร์

79 กรณีศึกษาไทย b ประสบการณ์ มหาวิทยาลัยใน กำกับ b การบริหาร ทรัพย์สินทาง กายภาพ b ความรู้พื้นฐานทาง บัญชีสำหรับ ผู้บริหาร

80 กรณีศึกษาไทย b การรื้อปรับ ระบบงาน b ภาวะผู้นำและการ ตัดสินใจ b การบริหาร สถาบันการศึกษา เอกชน

81 กรณีศึกษาไทย b การกำจัด ความเครียด b สุขภาพและ ค่านิยมของนัก บริหาร b ทักษะการเจรจา ต่อรอง

82 กรณีศึกษาไทย b 2545 มีการ พัฒนาผู้บริหาร อุดมศึกษาโดยจัด ให้มีการ อบรม ผู้บริหารระดับสาย สนันสนุนและช่วย วิชาการ รุ่นละ ประมาณ 1 เดือน

83 กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b แนวโน้มเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี b ยุทธศาสตร์การ พัฒนาประเทศ b นโยบายการ บริหารอุดมศึกษา

84 กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b นโยบายและ การปฎิรูป การศึกษา การปฎิรูปการ บริหารงานภาครัฐ b การบริหารจัดการ องค์กรที่ดี

85 กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ b การวางระบบ ติดตามและการ ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน

86 กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b การประกัน คุณภาพ b การก้าวเข้าสู่ ความเป็น นานาชาติ b เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อ การบริหาร

87 กรณีศึกษาไทย b หลักสูตรการ อบรม b การบริหาร อุดมศึกษา เปรียบเทียบ b การวางแผนกล ยุทธ์ในการบริหาร b ภาวะผู้นำใน อุดมศึกษาไทย

88 กรณีศึกษาไทย b จุดเด่นของการ อบรมคือการดูงาน มหาวิทยาลัยที่มี การบริหารรูปแบบ น่าสนใจทั้งในและ ต่างประเทศ

89 การดำเนินการ b ศึกษาเอกสารทั้ง ในและ ต่างประเทศ b สัมภาษณ์ ผู้บริหาร บุคลากร อาจารย์และ นักศึกษา

90 การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ ผู้บริหารเกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ในเรื่องการบริหาร และภาวะผู้นำ อุดมศึกษาและ การเรียนการสอน ของอาจารย์และ รูปแบบการพัฒนา บุคลากร

91 การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ บุคลากรเกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ต้องการในเรื่อง การบริหารและ ภาวะผู้นำ อุดมศึกษาและ การพัฒนาการ เรียนการสอนของ อาจารย์

92 การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ อาจารย์เกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ต้องการในการ เรียนการสอนของ อาจารย์และ รูปแบบการพัฒนา บุคลากร

93 การดำเนินการ b ประเด็นสัมภาษณ์ นักศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะที่จำเป็นและ ต้องการในการ พัฒนาการเรียน การสอนของ อาจารย์

94 วิเคราะห์ข้อมูล b นำข้อมูลจากการ สัมภาษณ์มา วิเคราะห์และ เปรียบเทียบ รวมทั้งการหา ความเชื่อมั่นโดย ใช้วิธีการทางสถิติ เช่น t-test และ ANOVA ตาม ความเหมาะสม

95 เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะภาวะ ผู้นำที่จำเป็นและ รูปแบบการพัฒนา บุคลากรที่ต้องการ ของผู้บริหารใน อุดมศึกษาไทย

96 เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะภาวะ ผู้นำที่ต้องการ ของ ผู้ใต้บังคับบัญชา ในอุดมศึกษาไทย

97 เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะการ เรียนการสอนและ รูปแบบการพัฒนา บุคลากรที่ต้องการ ของอาจารย์ใน อุดมศึกษาไทย

98 เสนอผลการวิจัย b ผลการวิจัยจะ บอกถึงทักษะการ เรียนการสอนของ อาจารย์ที่ นักศึกษาต้องการ

99 นวัตกรรมระบบ b ผลการวิจัยจะเป็น ข้อมูลส่วนหนึ่ง ของการสังเคราะห์ ระบบการพัฒนา ภาวะผู้นำและการ จัดระบบการเรียน การสอนอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย

100 คำตอบที่จะได้รับ b 1. ทักษะและ ภาวะที่ผู้นำ ในอุดมศึกษาไทย พึงมี พึงประสงค์ และควรพัฒนา

101 คำตอบที่จะได้รับ b 2. ทักษะและ ความรู้ที่อาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย พึงมี พึงประสงค์ และควรพัฒนา

102 คำตอบที่จะได้รับ b 3. ระบบการ พัฒนาภาวะผู้นำที่ พึงประสงค์และ เหมาะสมใน อุดมศึกษาไทย

103 คำตอบที่จะได้รับ b 4. ระบบการ พัฒนาอาจารย์ที่ พึงประสงค์และ เหมาะสมใน อุดมศึกษาไทย

104 คำตอบที่จะได้รับ b 5. ใคร องค์กรใด หรือ กลุ่มความ ร่วมมือใดบ้าง ? ที่ควรรับผิดชอบ การพัฒนาภาวะ ผู้นำและอาจารย์ ในอุดมศึกษาไทย

105 พัฒนาคนเพื่อพัฒนาชาติ b การสังเคราะห์ ระบบเพื่อให้ได้ นวัตกรรมการ พัฒนาผู้นำและ อาจารย์ที่ เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพใน อุดมศึกษาไทย

106 พัฒนาคนเพื่อพัฒนาชาติ b ไม้ย่อม b ออกดอกช้าฉันใด การศึกษาย่อม เป็นไปดังนั้น แต่ b ออกดอกคราใด งามเด่น ผู้พบเห็น จึ่งร่วมยินดี b ดัดแปลงจากกลอนของท่าน หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล ด้วยความเคารพ b สวัสดี

107


ดาวน์โหลด ppt ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม และ Director for DERRC UNESCO ( 1993-1997 ) ศ.ดร. นิพนธ์ ศุขปรีดี ผู้วิจัย รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสยาม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google