งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สื่อช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาระ หลักการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่ำ)

2 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษา และ หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ กลับ หน้าต่อไป

3 ตัวชี้วัด วิเคราะห์ และหน้าที่ ชนิด ของคำ กลับ

4 จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนเขียนแผนภูมิความรู้เรื่องคำอุทานได้ นักเรียนบอกชนิดของคำอุทาน และอธิบายความหมายได้ นักเรียนแต่งประโยคเกี่ยวกับคำอุทานได้ นักเรียนทำแบบทดสอบคำนามได้ ๔ ใน ๕ ข้อ

5 คำอุทาน! ว้าย!..... แม่จ๋า..รอด้วย..

6 คำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมา เพื่อแสดงอารมณ์ หรือความรู้สึกของผู้พูด ส่วนมากมักไม่มีความหมายตรงตามถ้อยคำ แต่จะเน้นไปทางความรู้สึกและอารมณ์เป็นสำคัญ ไอ๊หยา !.. อิ ๆ ๆ ๆ....

7 คำอุทาน อุทานเสริมบท อุทาน บอกอาการ อุ๊ย! ต๊กกะใจ หมดเลย
มีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) อยู่หลังคำอุทาน

8 อุทานบอกอาการ ตกใจ บาดเจ็บ เศร้า,เสียใจ ประหลาดใจ ดีใจ ผิดหวัง อุ๊ย!
ว้าย! ตายแล้ว! บาดเจ็บ โอ๊ย! อูย! เศร้า,เสียใจ โธ่! อนิจา! ประหลาดใจ โอ้โฮ! ว้าว! ดีใจ ไชโย! เย้! ผิดหวัง ว้า!

9 อุทานเสริมบท งูเงี้ยวเกี้ยวขอ นิยมนำมาต่อเติมข้างหน้า ต่อท้าย หรือแทรกกลางคำที่เราต้องการพูด เพื่อเน้นคำที่เราต้องการพูดให้ชัดเจน มากยิ่งขึ้น ดื่มน้ำดื่มท่า สัปปะดี้สีปะดน สัญญิงสัญญา หนังสือหนังหา ผมเผ้า

10 อุทานเสริมบท มี ๓ ชนิด ๑ คำอุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคำสร้อย คือ คำอุทานที่ใช้เป็นสร้อยของโคลงและร่าย หรือใช้ เป็นคำลงท้ายในบทประพันธ์ เพื่อแสดงว่าจบข้อความแล้ว เช่น ฮา เฮย แล รา เอย คำอุทานชนิดนี้เป็นแค่เพียงคำสร้อยที่เติม เพื่อให้บทประพันธ์มีพยางค์ตรงตามฉันทลักษณ์ ของคำประพันธ์

11 ๒ คำอุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคำแทรก
ใช้แทรกระหว่างคำหรือข้อความมี ๒ ชนิด คือ * ใช้เป็นบทบูรณ์ คือ คำที่ทำให้บท ประพันธ์มีพยางค์ครบถ้วนตามฉันทลักษณ์ เช่น นุ ซิ นิ * ใช้ประกอบข้างท้ายให้มีความกระชับหรือ สละสลวยขึ้น เช่น เอย เอ๋ย โอย

12 ๓ คำอุทานเสริมบทที่ใช้เป็นคำเสริม
คือ คำอุทานที่ใช้ต่อถ้อยเสริมคำให้ยาว แต่ ความหมายไม่เปลี่ยนไป - คำเสริมที่สอดระหว่างคำหน้ากับคำหลัง เช่น สิงสาราสัตว์ วัดวาอาราม - คำเสริมเลียนเสียงคำเดิม เช่น ทำงงทำงาน รถรา - คำเสริมที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อเติมเสียงให้เต็มตามที่เคยใช้ ในที่อื่น เช่น เธอสวยสะเด็ดยาตรเลย

13 แบบทดสอบ ๑. ข้อใดคือความหมายของคำอุทาน
ก. เป็นคำที่แสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ ของผู้พูด เพื่อให้ผู้รับสารรับรู้ความรู้สึกและอารมณ์ของผู้ส่งสาร ข. บอกหมวดหมู่ หรือสิ่งที่มีจำนวนมาก ค. เสียงคำที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ เสียใจ ของ ผู้พูด หรือเป็นคำที่ใช้เสริมคำให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ง. คำชนิดหนึ่งที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

14 แบบทดสอบ ๒. คำอุทานแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
๓ ประเภท คำอุทานบอกอาการ คำอุทานเสริมบท คำอุทานทั่วไป ข. ๔ ประเภท คำอุทานบอกอาการ คำอุทานเสริมบท คำ อุทานทั่วไป คำอุทานศัพท์นาม ค. ๑ ประเภท คำอุทานบอกอาการ ง. ๒ ประเภท คำอุทานบอกอาการ คำอุทานเสริมบท

15 แบบทดสอบ ๓. ข้อใดเป็นคำอุทานบอกอาการสงสาร ก. ช่วยด้วย! ว้าย ! ฮ้า
ก. ช่วยด้วย! ว้าย ! ฮ้า ข. โอ้โฮ ! โอ ! แหม ! ค. ไชโย! เฮ้ ! ง. อนิจจา ! พุทโธ่ ! โถ!

16 แบบทดสอบ ๔. ข้อใดคือความหมายของคำอุทานเสริมบท
ก. ใช้เสริมกับคำเดิม เพื่อให้ความหมายชัดเจนไพเราะ และสละสลวยยิ่งขึ้น ข. บอกหมวดหมู่ หรือสิ่งที่มีจำนวนมาก ค. เสียงคำที่เปล่งออกมาเวลาตกใจ ดีใจ เสียใจ ของ ผู้พูด หรือเป็นคำที่ใช้เสริมคำให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ง. คำชนิดหนึ่งที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม

17 แบบทดสอบ ๕. ข้อใดเป็นคำอุทานบอกอาการตกใจ ก. ช่วยด้วย! ว้าย ! ฮ้า
ก. ช่วยด้วย! ว้าย ! ฮ้า ข. โอ้โฮ ! โอ ! แหม ! ค. ไชโย! เฮ้ ! ง. อนิจจา ! พุทโธ่ ! โถ!

18 ผู้พัฒนาสื่อ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลไทยรัฐวิทยา ๕ (วัดตลิ่งต่ำ) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์ เขต ๑ การศึกษา ปริญญาตรี การประถมศึกษา วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์ ปริญญาตรี การแนะแนวมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ


ดาวน์โหลด ppt ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google