งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อเสนอโครงการภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อเสนอโครงการภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อเสนอโครงการภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
จัดทำโดย สำนักงานสถิติแห่งชาติ วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2557

2 ภารกิจหลักของ สสช กฎหมายที่เกี่ยวข้อง สำนักงานสถิติ แห่งชาติ การผลิต
การให้บริการ ด้านสถิติ พ.ร.บ. สถิติ พ.ศ. 2550 มติคณะรัฐมนตรี - 17 มิ.ย. 45 จัดเก็บข้อมูลและสถิติ ตัวเลข รวมทั้งสำรวจและสอบถาม ประชาชนเกี่ยวกับนโยบายหลักๆ ของ รัฐบาล แล้วรายงานคณะรัฐมนตรีทราบ - 25 ก.ย. 45 สสช เป็นหน่วยงานหลัก ในการดำเนินงาน เพื่อลดความซ้ำซ้อน เรื่องการเก็บข้อมูลสำรวจที่ลงลึกไปถึง ท้องถิ่น - 3 ธ.ค. 45 สำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนให้มากขึ้น เพื่อให้ประชาชน ได้รับข้อมูลข้อเท็จจริงที่ครบถ้วน ถูกต้อง - 12 ต.ค. 47 จัดตั้งศูนย์สารสนเทศ แห่งชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำ หน้าที่ในการบริหารข้อมูลของชาติ สำนักงานสถิติ แห่งชาติ การผลิต ข้อมูลสถิติ การบริหารจัดการ ระบบสถิติ และสารสนเทศ

3 อำนาจหน้าที่ กฎ กระทรวง
บริหารจัดการสถิติ และสารสนเทศของชาติให้เป็นระบบ จัดทำสำมะโนหรือสำรวจด้วยตัวอย่าง หรืออำนวยการ เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลของประเทศ บริการข้อมูลสถิติ และสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการทุกภาคส่วน จัดให้มีการศึกษาอบรมวิชาความรู้ด้านสถิติ ร่วมมือและประสานงานกับต่างประเทศและองค์กร ระหว่าง ประเทศในงานเกี่ยวกับสถิติ พ.ร.บ. สถิติ 2550 กฎ กระทรวง

4 การผลิตและให้บริการข้อมูลของ สสช.
ทุก 10 ปี ผลิตตามคำขอ/สนับสนุนการวิจัย ของหน่วยงานพันธมิตร สำมะโนเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ ประชากรและเคหะ การเกษตร ธุรกิจและอุตสาหกรรม สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร การเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร ปีละไม่น้อยกว่าจำนวน 5 โครงการ ทุก 5 ปี สำรวจความคิดเห็น มีจำนวน 9 โครงการ ทุก 3 ปี ปีละไม่น้อยกว่า 15 โครงการ มีจำนวน 6 โครงการ ทุก 2 ปี สำรวจเพื่อประเมินผลการปฏิบัติราชการของ สถาบันการศึกษาและจังหวัด 75 จังหวัด มีจำนวน 7 โครงการ ทุกปี มีจำนวน 11 โครงการ งานรวบรวมข้อมูลสถิติจากหน่วยงานภาครัฐอื่น เพื่อจัดทำดัชนีชี้วัดสังคม เศรษฐกิจ และรายงานสถิติประจำปี

5 โครงการสำรวจ/สำมะโนที่จัดทำ
ผังงานผลิตของ สสช ผลิตตามคำขอ/สนับสนุนการวิจัย ของหน่วยงานพันธมิตร ทุก 10 ปี สำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม สำมะโนการเกษตร สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร สำรวจการเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร สำมะโนประชากรและเคหะ สำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการบริการสาธารณะ : (สถาบันพระปกเกล้า) สำรวจการเคลื่อนย้ายสินค้า : (สถาบันขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำรวจภาวะค่าครองชีพของข้าราชการพลเรือนสามัญ : (สำนักงาน กพ.) สำรวจค่าตอบแทนภาคเอกชน : (สำนักงาน กพ.) - สำรวจสุขภาพจิตคนไทย (กรมสุขภาพจิต) สำรวจการสูบบุหรี่ (ศูนย์วิจัยยาสูบ) สำรวจสุขภาพจิตคนไทย (กรมสุขภาพจิต) สำรวจข้อมูลอาชญากรรม (สำนักงานกิจการยุติธรรม) สำรวจการสูบบุหรี่ (GATS) (ศูนย์วิจัยยาสูบ ม.มหิดล) สำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (โดยใช้ตัวอย่างซ้ำ) (ก. สธ.) สำรวจสถานการณ์เด็กของประเทศไทย (Unicef) - สำรวจความคิดเห็นของ ปชช. เกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดยาเสพติด สำรวจความคิดเห็นของ ปชช. ต่อการบริหารงานของรัฐบาล สำรวจการอยู่ดีมีสุขภายใต้หลักเศรษฐกิจพอเพียง สำรวจความคิดเห็นของ ปชช. เกี่ยวกับการประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทดแทน สำรวจของ ปชช./สถานประกอบการเกี่ยวกับผลกระทบจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน สำรวจความคิดเห็นของ ปชช.เกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ และการตระหนักเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ สำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการจัดระเบียบสังคม สำรวจความคิดเห็นหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ข้าราชการ) สำรวจการท่องเที่ยว (สถานประกอบการ) ทุก 5 ปี - สำมะโนธุรกิจทางการค้าและอุตสาหกรรม สำรวจลักษณะทางประชากรและสังคมของชุมชนผู้มีรายได้น้อยในเมือง สำรวจความพิการ สำรวจองค์การเอกชนที่ไม่แสวงหากำไร สำรวจโรงพยาบาลและสถานพยาบาลเอกชน - สำรวจสื่อมวลชน (วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์) สำรวจการใช้เวลาของประชากร สำรวจอุตสาหกรรมก่อสร้าง สำรวจการประกอบการขนส่งด้วยรถโดยสารประจำทาง ทุก 3 ปี - สำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย สำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร สำรวจเด็กและเยาวชน - สำรวจพฤติกรรมการเล่นและการดูกีฬาของประชากร สำรวจการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม สำรวจอนามัยการเจริญพันธุ์ ทุกปี ทุก 2 ปี สำรวจภาวะการณ์ทำงานของประชากร สำรวจแรงงานนอกระบบ สำรวจการย้ายถิ่นของประชากร - สำรวจความต้องการพัฒนาขีดความสามารถของประชากร สำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน - สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน สำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(สถานประกอบการ ) สำรวจการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย ประมวลข้อมูลพื้นที่การก่อสร้าง สำรวจพฤติกรรมเดินทางท่องเที่ยวของชาวไทย สำรวจยอดขายรายไตรมาส สำรวจการใช้พลังงานของครัวเรือน - สำรวจการอ่านหนังสือของประชากร สำรวจข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน - สำรวจธุรกิจทางการค้าและธุรกิจทางการบริการ สำรวจการประกอบกิจการโรงแรมและเกสต์เฮาส์ สำรวจอนามัยและสวัสดิการ สำรวจการรับงานมาทำที่บ้าน สำรวจการประกอบอุตสาหกรรมการผลิตขนาดเล็ก 5 5

6 การบริหารจัดการข้อมูลสถิติและสารสนเทศของประเทศ
ผลผลิตที่ 3 : ล้านบาท การบริหารจัดการข้อมูลสถิติและสารสนเทศของประเทศ การบริหารจัดการข้อมูลสถิติและสารสนเทศของประเทศ ระบบสถิติ บูรณาการและเชื่อมโยง ข้อมูลสถิติและสารสนเทศ ประสานเครือข่ายการ ดำเนินงานการบูรณาการข้อมูล สถิติภาครัฐ เพื่อติดตามการ ดำเนินงาน และปัญหาอุปสรรคที่ เกิดขึ้น ตลอดจนประสานงานใน การเชื่อมโยงข้อมูลจาก หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องให้ เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมี ประสิทธิภาพ แผนแม่บทสถิติ แปลงแผนแม่บทสถิติรายสาขา สู่การปฏิบัติ พัฒนาและส่งเสริมการใช้มาตรฐานสถิติ ประสานและสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานให้ปฏิบัติตามกรอบแผนแม่บท แนวทางการประเมินคุณภาพข้อมูลสถิติ

7 แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย
การแปลงแผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย พ.ศ สู่การปฏิบัติ ระบบติดตาม - รายงานประจำปี -รายงานสถานการณ์สถิติทางการรายสาขา - รายงานผลการดำเนินงานรายสาขา แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถิติรายสาขา / พท. -รายละเอียดของแผนปฏิบัติการ - ปฏิทินการผลิตข้อมูล - หน่วยงานเจ้าของเรื่องเข้ามารายงานความก้าวหน้า - ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน แผนพัฒนาสถิติรายสาขา (21 สาขา) แผนปฏิบัติการรายสาขา ระบบพัฒนาระบบบริหารจัดการระบบสถิติทางการของประเทศ Data Gap ข้อมูลที่ต้องจัดทำเพิ่ม ผังสถิติทางการ (21 สาขา) / พื้นที่ ข้อมูลที่มีอยู่ ระบบแลกเปลี่ยนและเชื่อมโยง มาตรฐานสถิติ OS Supply Demand - แผนพัฒนามาตรฐาน สถิติ - เรื่องที่จะจัดทำมาตรฐาน สถิติ 3 อันดับแรก Meta Data - Data Directory - ระบบ Metadata โครงการสำรวจ สสช. - StatXchange - ระบบคลังข้อมูล สสช. - metadata ธปท. ฯลฯ รัฐธรรมนูญ แผน 11 - แผนปฏิบัติราชการ - นโยบายรัฐบาล ฯลฯ ระบบจัดการคุณภาพสถิติทางการ ฝึกอบรมหน่วยสถิติ แผนการพัฒนา การประเมินคุณภาพ - การประเมินตนเอง

8 สถานะสถิติทางการและการดำเนินงาน
การแปลงแผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย พ.ศ สู่การปฏิบัติ สถานะสถิติทางการและการดำเนินงาน อยู่ในสาขาอื่น (236 รายการ) พร้อมเผยแพร่ (2,697 รายการ) (มีแหล่งข้อมูล มีการจัดทำและเผยแพร่อย่างต่อเนื่อง) นำข้อมูลขึ้นเผยแพร่ พร้อมเมตะดาต้า มาตรฐาน - จัดทำมาตรฐานข้อมูล QA - รายการสถิติทางการเพื่อประเมินคุณภาพ ต้องพัฒนา (964 รายการ) (ยังไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบ/ยังไม่ครอบคลุม/ครบถ้วน/ซ้ำซ้อน ฯลฯ) - - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติการ - บันทึกแบบติดตามประเมินผลสถิติทางการ และแบบติดตามประเมินผลหน่วยสถิติ (Excel) ระบบ SDMX ระบบมาตรฐานสถิติ ระบบประเมินคุณภาพ ระบบติดตามประเมินผล

9 ข้อเสนอโครงการของสำนักงานสถิติแห่งชาติ สนับสนุนการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ
“การบริหารการจัดเก็บข้อมูล และจัดทำ ดัชนี้ชี้วัดเชิงพื้นที่เพื่อการตัดสินใจ”

10 โครงการที่นำเสนอ ผังงานผลิตของ สสช
ประเภทแผนพัฒนาระบบ ลักษณะระบบงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลลัพธ์ งบประมาณ ระบบการ จัดเก็บข้อมูล โครงสร้าง พื้นฐานระดับ พื้นที่เพื่อการ บริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ อย่างยั่งยืน ในลุ่มน้ำโขง และลุ่มน้ำ ชายฝั่งทะเล ตะวันออก (โครงการ ระยะที่ 1) D กับ I กลาง เป็น โครงการ ใหม่ มีระบบจัดเก็บ ข้อมูล โครงสร้าง พื้นฐานระดับ พื้นที่ย่อยเพื่อ การบริหาร จัดการ ทรัพยากรน้ำ ในลุ่มน้ำโขง และลุ่มน้ำ ชายฝั่งทะเล ตะวันออก อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน มีการเชื่อมโยง ข้อมูลที่มีอยู่ แล้วระหว่าง หน่วยงาน และ เชื่อมโยงกับ ข้อมูลที่ ดำเนินการ จัดเก็บใหม่ เพิ่มเติมใน ระดับพื้นที่ย่อย มีต้นแบบการ ดำเนินงาน “ระบบการ จัดเก็บข้อมูลโครงสร้าง พื้นฐานระดับพื้นที่เพื่อ การบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ” เพื่อต่อ ยอดในการดำเนินงาน ให้ครบทุกลุ่มน้ำทั่ว ประเทศ ในโครงการ ระยะที่ 2 มีข้อมูลเพื่อสนับสนุน การต่อยอดในการ สำรวจข้อมูลภูมิ สารสนเทศเชิงพื้นที่ โดยใช้เครื่องมือเช่น tablet ในการจับพิกัด ลากเส้น เพื่อทำ layer พื้นที่ทำการเกษตร ใน ระดับพื้นที่ย่อย เป็นต้น ในโครงการระยะที่ 2 มีระบบข้อมูล โครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการ ดำเนินงานในการ บริหารจัดการ วิเคราะห์และ คาดการณ์ รวมทั้ง ติดตามและเฝ้า ระวัง สถานการณ์ น้ำในภาวะต่างๆ รวมทั้งสนับสนุน การกำหนดทิศ ทางการพัฒนา อนุรักษ์และซ่อม บำรุง 74.98 ล้านบาท

11 เพื่อรวบรวมข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของประชากร
โครงการ ประเภทแผนพัฒนาระบบ ลักษณะระบบงาน วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ผลลัพธ์ งบประมาณ การสำรวจ ประชากร แฝง D กับ I เฉพาะ หน่วย เป็น โครงการ เดิม เพื่อรวบรวมข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของประชากร เพื่อศึกษาและ วิเคราะห์ประเด็น ปัญหาข้อมูล เกี่ยวกับประชากร แฝง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มี ผลต่อคุณภาพชีวิต ของประชาชน เพื่อให้มีข้อมูลสถิติ ในเรื่องดังกล่าว ใช้ ประกอบในการ กำหนดนโยบาย และจัดทำแผน เกี่ยวกับการ กระจายตัวและการ ตั้งถิ่นฐานของ ประชากร ข้อมูลที่สำคัญเกี่ยวกับการย้ายถิ่นของประชากร และประชากรแฝง ข้อมูลสถิติในเรื่องดังกล่าว ใช้ประกอบในการกำหนดนโยบาย และจัดทำแผนเกี่ยวกับการกระจายตัวและการตั้งถิ่นฐานของประชากรในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนใช้เป็นแนวทางในการวางแผนพัฒนาโครงการต่างๆ และแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการย้ายถิ่นของประชากร และประชากรแฝง จำนวนประชากรแฝงที่เข้ามาอาศัยและใช้สาธารณูปโภคในพื้นที่ โครงการตามแผนงานหลักของ สสช ซึ่งผนวกกับโครงการที่ทำเป็นประจำ จึงไม่ต้องใช้งบประมาณ

12 การจัดทำแผนพัฒนาดัชนีด้านทรัพยากรน้ำ D กลาง
โครงการ ประเภทแผนพัฒนาระบบ ลักษณะระบบงาน ผลลัพธ์ งบประมาณ การจัดทำแผนพัฒนาดัชนีด้านทรัพยากรน้ำ D กลาง เป็นโครงการเดิม การพิจารณาและจัดทำ(ร่าง)แผนพัฒนาสถิติสาขาทรัพยากรฯ ขณะนี้อยู่ระหว่างให้หน่วยงานยืนยันสถานการณ์ข้อมูล (มีแหล่งข้อมูล / ไม่มีข้อมูล / ซ้ำซ้อน ฯลฯ) เพื่อนำไปจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาสถิติทางการ และพัฒนาหน่วยสถิติต่อไป ทั้งนี้ สสช. จะพยายามเร่งรัดการดำเนินงานเพื่อให้ทุกฝ่ายมีข้อมูล ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทันต่อการใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มในอนาคต

13 โครงการ 1 : ระบบการจัดเก็บข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่เพื่อ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน ในลุ่มน้ำโขง และลุ่มน้ำชายฝั่งทะเลตะวันออก (โครงการระยะที่ 1)

14 ระบบสถิติแบบกระจายงาน
กรอบแนวคิด ข้อมูล ความถูกต้อง และแม่นยำ ความทันเวลา ความสมบูรณ์ครบถ้วน ความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ความต่อเนื่อง ระบบสถิติแบบกระจายงาน ซ้ำซ้อน ขาดหาย ข้อมูลในหน่วย !! ครัวเรือน สถานประกอบการ หมู่บ้าน/พื้นที่ย่อย

15 การบูรณาการ เชื่อมโยงข้อมูล
กรอบแนวคิด ข้อมูล ความถูกต้อง และแม่นยำ ความทันเวลา ความสมบูรณ์ครบถ้วน ความกะทัดรัด ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ความต่อเนื่อง ระบบสถิติแบบกระจายงาน การบูรณาการ เชื่อมโยงข้อมูล ข้อมูลในหน่วย ครัวเรือน สถานประกอบการ หมู่บ้าน/พื้นที่ย่อย

16 กรอบแนวคิด System Protocol Reporting
Coaching/Mentoring Reporting Communication Protocol พัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์ และจัดลำดับความมั่นคงในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างยั่งยืน โดยอำนวยการสร้าง ระบบการจัดเก็บข้อมูลตั้งแต่ระดับจังหวัดจนถึงระดับพื้นที่ย่อยคือเขตสำรวจสำหรับในเขต เทศบาล และหมู่บ้านสำหรับนอกเขตเทศบาล โดยให้สามารถเชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลที่มี หน่วยงานต่างๆ ที่ได้รวบรวมไว้แล้ว ซึ่งข้อมูลดังกล่าวต้องมีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย ลดความซ้ำซ้อน และตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และรองรับระบบการสำรวจข้อมูลภูมิ สารสนเทศเชิงพื้นที่

17 ระยะที่ 1 เขตสำรวจพื้นที่ระดับย่อยจำนวน 21,000 เขต
กรอบการดำเนินการ ส่วนที่ 1 : บริหารการจัดเก็บ/จัดเก็บข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่ ส่วนที่ 2 : พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ บริหารการจัดเก็บ/จัดเก็บข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำ ข้อมูลของผู้ใช้น้ำ ลักษณะการใช้น้ำ แหล่งน้ำ และปัญหาต่างๆด้านน้ำ เป็นต้น ระดับพื้นที่ย่อย ครัวเรือน และสถานประกอบการ ระบบข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่ ระบบการบันทึกข้อมูลแบบ Web Based ระบบประมวลผล ระบบการจัดการฐานข้อมูล ระบบนำเสนอผล ระบบรายงาน ระดับพื้นที่ย่อย วิเคราะห์ความ ต้องการ ความ ขาดแคลนของ ข้อมูล ออกแบบการ จัดเก็บ มอบหมาย/เป็น พี่เลี้ยงการ จัดเก็บ ประสานความ ร่วมมือ อบรมถ่ายทอด องค์ความรู้ พัฒนาระบบจัดทำ การจัดเก็บ การสื่อสารและรายงาน สร้างองค์ความรู้ในการจัดทำดัชนี พัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ระยะที่ 1 เขตสำรวจพื้นที่ระดับย่อยจำนวน 21,000 เขต

18 วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล
ขั้นตอนการดำเนินการ (ส่วนที่ 1 จัดเก็บข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่) วางแผนและเตรียมงาน บูรณาการข้อมูลทุติยภูมิจากแหล่งต่างๆ ให้เป็นชุดเดียวกัน สร้างแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหน่วยที่ให้ข้อมูล ได้แก่ ครัวเรือน ผู้ถือครองทำการเกษตร สถานประกอบการ ศึกษารายการข้อมูลสำคัญที่ขาดหาย เพื่อเติมเต็มข้อมูลให้สมบูรณ์ เก็บรวบรวมข้อมูล จัดให้มีการอบรมเจ้าหน้าที่ของสำนักงานสถิติจังหวัด เพื่อให้เป็นผู้ดำเนินการในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ติดต่อประสานงาน และอำนวยความสะดวกให้แก่ เทศบาล/อบต. และเจ้าหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล เจ้าหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามแบบสำรวจ และพื้นที่ที่ได้รับมอบหมาย ติดตาม และควบคุมคุณภาพการปฏิบัติงานสนาม ประมวลผลข้อมูล จัดทำโปรแกรมประมวลผลข้อมูล ด้วยเครื่อง PC ทำการบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมบันทึกข้อมูลบน web application ตรวจสอบความครบถ้วน และถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับมา ทำการประมวลผลขึ้นมาเป็นรายหมู่บ้าน / ตำบล / อำเภอ / จังหวัด รวมถึง ใน/นอกเขตชลประทาน และตามกลุ่มลุ่มน้ำ / ลุ่มน้ำหลัก / ลุ่มน้ำสาขาได้ วิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล วิเคราะห์ข้อเท็จจริงและสภาพปัญหา จัดทำตัวชี้วัด และนำเสนอข้อมูล

19 ขั้นตอนการดำเนินการ (ส่วนที่ 2 พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ)
วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ระบบ ออกแบบระบบการดำเนินงานต่างๆ พัฒนาระบบ การติดตั้งและบำรุงรักษา

20 แผนงาน ระยะเวลาการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ)
รายละเอียด/กิจกรรมหลัก ระยะเวลาการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ) 2558 2559 2560 1 2 3 4 ส่วนที่ 1 จัดเก็บข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานระดับพื้นที่ ขั้นวางแผนและเตรียมงาน ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นประมวลผลข้อมูล ขั้นวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล รายละเอียด/กิจกรรมหลัก ระยะเวลาการดำเนินงาน (ปีงบประมาณ) 2558 2559 2560 1 2 3 4 ส่วนที่ 2 พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ระบบ ออกแบบระบบการดำเนินงาน พัฒนาระบบ ติดตั้งและบำรุงรักษา

21 งบประมาณและการประเมินผล
ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 รวม ผลผลิตที่ได้ ข้อมูลโครงสร้างพื้นฐาน ระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในพื้นที่ บำรุงรักษาระบบ งบประมาณ (ล้านบาท) 61.98 12.00 1.00 74.98 ตัวชี้วัด ร้อยละของผู้อบรมมีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำข้อมูลสถิติ/ตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการ บริหารและการตัดสินใจ ร้อยละความสำเร็จของการนำเข้าข้อมูลสถิติ/ตัวชี้วัดเพื่อใช้ในการบริหารและการ ตัดสินใจ

22 โครงการ 2 : การสำรวจประชากรแฝง
โครงการ 2 : การสำรวจประชากรแฝง แผนพัฒนาระบบสนับสนุนการพัฒนา/อนุรักษ์/ซ่อมบำรุง และระบบโครงสร้างพื้นฐาน ข้อมูลที่จัดเก็บ : ระดับจังหวัด การตั้งถิ่นฐานของประชากร การมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน การย้ายถิ่นไปทำงาน หรือเรียน หนังสือ วิธีการเดินทางและค่าใช้จ่ายใน การเดินทาง เป็นต้น ผลผลิตที่ได้ : ระดับจังหวัด จำนวนประชากรแฝงที่เข้ามา อาศัยและใช้สาธารณูปโภคใน พื้นที่ ลักษณะการแฝงของประชากร ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับประชากร แฝง เป็นต้น จัดเก็บรวบรวมข้อมูลในไตรมาส 4 (ตุลาคม – ธันวาคม) ของทุกปี ประมวลผลข้อมูล นำเสนอผลข้อมูล และจัดส่งข้อมูลให้เผยแพร่เดือนมีนาคมปีถัดไป

23 รายละเอียด/กิจกรรมหลัก ระยะเวลาการดำเนินงาน
แผนงานและงบประมาณ รายละเอียด/กิจกรรมหลัก ระยะเวลาการดำเนินงาน ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 1.จัดส่งข้อมูลประชากรแฝงภายในเดือนมีนาคมของทุกปี งบประมาณ : เนื่องจากจัดทำกับงานสำรวจประจำ (การย้ายถิ่นของประชากร) จึงไม่ใช้งบประมาณเพิ่มเติม ตัวชี้วัด : จำนวนชุดข้อมูลประชากรแฝงรายจังหวัด

24 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ข้อเสนอโครงการภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google