งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เล่าประสบการณ์ การเป็นหัวหน้างาน โดย จินตนา ศิริวัฒนโชค หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

2 แบ่งหัวข้อแลกเปลี่ยน
แนวทาง แนวคิดที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว (Explicit Knowledge) 2. เล่าประสบการณ์ 3. ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

3 ระดับการพัฒนาหัวหน้างาน
ระดับพื้นฐาน (Functional level) 2. ระดับทักษะ (Cross Functional level) 3. ระดับการบริหาร (Management level) 4. ระบบองค์กร (Organizing level)

4 การรู้เทคนิคหัวหน้างาน
ระดับพื้นฐาน (Functional level) การรู้เทคนิคหัวหน้างาน การสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ

5 ทักษะการบริหาร (Management skill)
2. ระดับทักษะ (Cross Functional level) ทักษะการบริหาร (Management skill) PDCA ตามบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน

6 3. ระดับการบริหาร (Management level)
การบริหารคนตามผลงานและความสามารถ เรียนรู้และเข้าใจ “การพัฒนาทุนมนุษย์” กำหนดสมรรถนะ (Competency)

7 การจัดการความรู้ KM ภาคปฏิบัติ
4. ระบบองค์กร (Organizing level) การจัดการความรู้ KM ภาคปฏิบัติ สามารถกำหนดกระบวนการและบริหารจัดการระบบ KM ให้เกิดประโยชน์

8 เทคนิคการเป็นหัวหน้า ที่ลูกน้องรัก/ที่ลูกน้องอยากได้
เปิดใจรู้จักตนเอง รับฟังความคิดเห็นลูกน้อง เคารพความคิดเห็นผู้อื่น เป็นปากเป็นเสียงได้ ปกป้องลูกน้องในทางที่ควร ถ่ายทอดข้อมูลได้ (สถานีรับ-ส่งข้อมูล) จิตใจมั่นคง หนักแน่น - ในหลักการ = ทำงานเป็นระบบ - ไม่หูเบา 6. รู้จักวางตัว รักษาระยะได้อย่างเหมาะสม 7. สามารถตอบสนองความคาดหวังของลูกน้องได้

9 เทคนิคการเป็นหัวหน้า ที่ลูกน้องรัก/ที่ลูกน้องอยากได้
8. พร้อมรับผิดชอบ 9. อดทน, ทำงานหนัก 10. สามารถตัดสินใจได้ 11. ใจกว้าง มีน้ำใจ 12. เท้าติดดิน 13. รักษาอารมณ์ได้สม่ำเสมอ (ฉลาดทางอารมณ์) 14. พูดอย่างสร้างสรรค์

10 Sambre Valley Franière, Belgium
เทคนิคการเป็นหัวหน้า ที่ลูกน้องรัก/ที่ลูกน้องอยากได้ Sambre Valley Franière, Belgium 15. ใจเป็นธรรม 16. ชมต่อหน้า ...ว่าเป็นการส่วนตัว 17. วางเฉย บางเรื่องฟังแล้วปล่อยทิ้งบ้าง 18. สร้างบรรยากาศในการทำงาน 19. ใช้คนให้เหมาะกับงาน 20. ให้แนวคิด แล้วให้ไปปฏิบัติเอง 21. ดูแลตนเอง ให้สุขภาพดีทั้งกาย/ใจ ฯลฯ

11 การสร้างแรงจูงใจที่ไม่ใช้ตัวเงิน
ทำให้ทุกคนรู้สึกว่าหน่วยงานมั่นคง มีสวัสดิการที่ดี มีโอกาสก้าวหน้า ให้รางวัล เป็นระบบ เป็นธรรม คุ้มค่า สร้างบรรยากาศที่ดี – นายดี ทำงานแล้วสบายใจ - เมื่อพลาดแล้วให้กำลังใจ - เจอหน้าทักทาย - ฉลาดชม

12 การสร้างแรงจูงใจที่ไม่ใช้ตัวเงิน
6. ให้ทำงานที่เหมาะสมกับความสามารถ 7. มีอำนาจ / หน้าที่แน่นอน 8. เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น 9. มีช่วงเวลาทำงานที่เหมาะสม

13 คุณสมบัติของหัวหน้างาน
การเป็นผู้รู้จักตนเอง (Self realization) การเป็นผู้รู้จักวิเคราะห์หาเหตุและผล (Analytical Mind) การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดเวลา (Life Long Learning) มีความเข้าใจในจิตวิทยาการบริหาร การเป็นคนดี

14 เล่าจากประสบการณ์

15 คาถาของหัวหน้างาน

16 พรมวิหาร 4 เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา

17 ออกหน้ารับ น่านับถือ เชื่อถือได้ ไม่อคติ

18 มองการณ์ไกล ไว ต่อความรู้สึก นึกถึง เหตุผล สื่อสาร กับคน ให้ตรงเป้าหมาย

19 ยิ้มแย้มแจ่มใส ตั้งใจสนทนา
วาจาไพเราะ สงเคราะห์เอื้อเฟื้อ เจือจุนน้ำใจ ไม่ใช้คำว่า “คุณผิด” ตรองคิดก่อนทำ ถามย้ำ “ชื่อของเขา” บรรเทาการโต้แย้ง แสดงความเสียใจ สอดใส่บรรยากาศ ฉลาดเจรจา เลือกหาที่เป็นประโยชน์ต่อเขา เน้นพวกเรามากกว่าพวกคุณ เกื้อหนุน เสนอสนอง ในครรลองกัลยาณมิตร

20 บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ที่ควรทำ
ลำดับความสำคัญของงาน รู้จักกระจายงาน อยู่บนพื้นฐานของความจริง ระบุปัญหาได้ ใช้เทคโนโลยีมาช่วย ตั้งสมมุติฐาน ของสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา เพื่อแก้ไขให้ตรงจุด

21 บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ที่ควรทำ
มุ่งแก้ปัญหา ไม่ตำหนิหาคนผิด จัดการแก้ปัญหาที่สาเหตุ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาซ้ำ ทฤษฏีเกิดจากประสบการณ์ บางปัญหาต้องทดลองหลายครั้ง ขจัดการพูดที่ไร้การกระทำ บริหารเป้าหมาย อย่าลืมการวัดผลการปฏิบัติด้วย

22 บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ไม่ควรทำ
คิดว่าเป็นผู้บริหาร “สั่งการ” (ที่ถูกต้อง “ชี้แนะ + ช่วยเหลือ”) บริหารสิ่งที่มองไม่เห็น (ฟังเรื่องราวและนำมาทำ) มุ่งแต่ตรวจสอบ เน้นการฟังรายงานและการประชุมมากเกินไป ไม่ได้สัมผัสเรื่องจริง คิดว่า วางแผน – ลงมือทำ – ตรวจสอบและปรับปรุงพอแล้ว ...แต่จริงๆ ต้องตรวจสอบหลังวางแผนก่อนลงมือทำ มีอีก 1 ขั้นตอน

23 บัญญัติ 10 ประการเรื่องงาน ไม่ควรทำ
คิดว่าเป็นผู้บริหารแล้วไม่มีหน้าที่ปรับปรุงงาน ตัดสินใจหรือวัดค่าจากผลงานเท่านั้น ไม่สนใจกระบวนการ มองไม่เห็นความสูญเสีย (เห็นเล็กน้อย) ไม่วิจารณ์ผลงานที่ดี ชอบคิดว่าผลงานดีที่สุดแล้ว จึงไม่ปรับปรุง ชอบการประนีประนอม เกรงใจ ไม่กล้าตัดสินใจ


ดาวน์โหลด ppt หัวหน้าส่วนพัสดุ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google