งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”
“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ” บัณฑูร ล่ำซำ

2 พื้นที่จังหวัดน่าน ทั้งหมด 7,651,585.93 ไร่ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ
6,541, ไร่ ปลูกพืชไร่ในพื้นที่ป่าสงวนฯ 1,394, ไร่ เหลือพื้นที่ป่า 5,147, ไร่ พื้นที่ปลูกพืชไร่บนที่สูง พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ กิโลเมตร

3 พื้นที่ป่าไม้จังหวัดน่าน ปี 2507-2557 จำนวนพื้นที่ (ล้านไร่)
7.00 2507 6.50 6.00 2547 2551 5.50 2556 5.00 2557 4.50 4.00 ปี 2507 2517 2527 2537 2547 2551 2556 2557

4 ความเดิม ประเด็นยุทธศาสตร์
1. ติดตามผลการฟื้นฟูและรักษาป่าด้วยคณิตศาสตร์ (จากดาวเทียม) 2. กำหนดหน่วยรับผิดชอบเป็นตำบล 3. สรรหาองค์กร หน่วยงาน ที่มีความรู้จำเพาะ ไปสนับสนุน - บริหารดิน - น้ำ - พันธุกรรมศาสตร์ - การตลาดกับสากล - การจัดการสังคมท้องถิ่น

5 ความเห็นเกี่ยวกับชุมชน
ชุมชนในป่าน่านมีจิตวิญญาณดี หาทางแก้ไขปัญหาระยะยาว 2. ผู้นำมีความสามารถ ได้แก่ นายกอบต. กำนัน ประธานสภาองค์กรชุมชน 3. ได้รับการสนับสนุนตามสมควร

6 ประเด็นบีบคั้น ของที่เคยเป็นรายได้ง่ายๆ เช่น ข้าวโพด ยางพารา - พึ่งไม่ได้ ราคาผันผวน 2. หนี้ครัวเรือนค่อยๆ สูงขึ้น

7 เข้าใจปัญหา “รักษ์ป่าน่าน”
สมมุติฐาน “ ถ้าคนมีพอกินพอใช้ จะไม่ตัดป่า อีกทั้งจะคืนผืนป่า ”

8 “ไม่มีน้ำพอใช้ในการเพาะปลูกตลอดปี”
ปัญหาพื้นฐาน “ไม่มีน้ำพอใช้ในการเพาะปลูกตลอดปี”

9 โครงการเก็บกักน้ำ ขนาดของโครงการ อุปสรรค 1. ใหญ่ (แม่น้ำ)
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 2. กลาง (อ่างเก็บน้ำ/ฝาย) - ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม - ทับที่ป่าสงวน - ทับที่ชาวบ้าน - งบประมาณ 3. เล็ก (อ่างเก็บน้ำ/ฝาย) งบประมาณ 4. จิ๋ว (อ่างเก็บน้ำ/ฝาย) งบประมาณ

10 อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก น้ำปอน ต.ปอน อ.ทุ่งช้าง
ความจุไม่เกิน 260,000 ลบ.ม. ขนาด 84x6 ม.ทำนบดินสูง 15 ม. ความช่วยเหลือครอบคลุม 4 หมู่บ้าน งบประมาณ 5 ล้านบาท

11 อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ต.ปิงหลวง อ.นาหมื่น
ความจุไม่เกิน 3,435 ลบ.ม. ขนาด 35x5 ม. ทำนบดินสูง 6 ม. ความช่วยเหลือครอบคลุม 3 หมู่บ้าน งบประมาณ 1.98 ล้านบาท

12 โครงการอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง
1. น้ำกุ๋ย ต.เมืองจัง อ.ภูเพียง 2. สมุน ต.สะเนียน อ.เมืองน่าน 3. น้ำริม ต.แสนทอง อ.ท่าวังผา 4. น้ำปัว ต.สถาน อ.ปัว 5. น้ำยาว (ตอ.) ต.อวน อ.ปัว 6. น้ำฮิ ต.ขุนน่าน อ.เฉลิมพระเกียรติ 7. แม่ขะนิง ต.แม่ขะนิง อ.เวียงสา 8. ห้วยหลอด ต.ผาสิงห์ อ.เมืองน่าน 9. น้ำยาว (ตต.) ต.นาไร่หลวง อ.สองแคว 10. ห้วยหลอด ต.ปงสนุก อ.เวียงสา 11. น้ำมอบ ต.ส้านนาหนองใหม่ อ.เวียงสา 12. น้ำกอน ต.เชียงกลาง อ.เชียงกลาง 13. น้ำแงน ต.ปอน อ.ทุ่งช้าง 14. ห้วยน้ำมีด ต.เปือ อ.เชียงกลาง 15. ห้วยชื่น ต.ทุ่งศรีทอง อ.เวียงสา 16. น้ำกิ ต.ผาตอ อ.ท่าวังผา 17. ฝายน้ำยาว ต.ผาทอง อ.ท่าวังผา

13 ความเพียงพอของอ่างเก็บน้ำ/ฝายในจังหวัดน่าน
ขนาดโครงการ จำนวนอ่างเก็บน้ำ/ฝาย ที่เพียงพอ จำนวนอ่างเก็บน้ำ/ฝาย ที่มีในปัจจุบัน - ? 1. ใหญ่ 15 อ.X 3 = 45 ? 2. กลาง 3. เล็ก 99 ต.X 6 = 594 ? 99 ต.x 9 = 891 ? 4. จิ๋ว

14 อาการของความล้มเหลว 1. ตัดป่าเพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มพื้นที่เพาะปลูก
2. ใส่สารเคมีเร่งผลผลิต ทำให้การประปาชุมชนเสีย 3. หนี้ครัวเรือนสูง

15 หน่วยงานภาครัฐที่น่าจะมีบทบาท
1. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช - กรมป่าไม้ - กรมทรัพยากรน้ำ 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กรมชลประทาน - กรมการข้าว และ กรมพัฒนาที่ดิน - กรมส่งเสริมการเกษตร 3. จังหวัดน่าน 4. กองทัพบก

16 ข้อสรุป “น้ำต้องมาก่อน”

17 แนวทางเพิ่มคุณค่าผลผลิตการเกษตร เพื่อนำไปสู่รายได้ที่เพียงพอกับชีวิต
เพิ่มผลผลิตในพืชเดิม - ข้าว ข้าวโพด ยางพารา 2. เปลี่ยนเป็นพืชอื่นที่มีมูลค่าสูง - ผัก ผลไม้สด สมุนไพร 3. แปรรูป - อาหารระดับสูง ยารักษาโรค 4. สร้างยี่ห้อสินค้า (Branding) ขายความเป็น “น่าน” 5. ระบบจัดส่งสินค้า (Logistics) - ตัดคนกลาง - ผ่านโลกอินเทอร์เน็ต

18 ตะบันน้ำ ต.บัวใหญ่ อ.นาน้อย

19 “รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”
“รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ” บัณฑูร ล่ำซำ


ดาวน์โหลด ppt “รู้รักษ์ป่า รู้รักษ์น้ำ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google