งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่

2 ปัญหา การวิจัย สื่อการเรียนการสอน นับเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ อย่างยิ่ง ในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนซึ่ง นอกจากที่จะสร้างความสนใจใฝ่รู้ในการเรียนแล้ว ยัง ทำให้ผู้เรียนได้มีความรู้ ความเข้าใจมากยิ่งขึ้นวิชางาน ไม้ 2 เป็นวิชาหนึ่งที่มีความสำคัญและจำเป็นต่อ นักศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) สาขาช่างก่อสร้าง โดยเฉพาะการนำหลักวิชาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ในการทำงานในอนาคต ซึ่งวิชางานไม้ 2 เป็นวิชาภาคปฏิบัติ จึงมีการฝึกปฏิบัติงานในโรงงานไม้ การสอนแบบเดิมคือการอธิบายใบงาน และวาดเขียน บนกระดานโดยไม่มีสื่อจริง ซึ่งทำให้เสียเวลาและทำให้ นักศึกษาไม่เข้าใจในบทเรียน และยังทำให้เกิดปัญหา การสอนซ้ำ จากสาเหตุดังกล่าวทางผู้วิจัยจึงสร้างสื่อ งานต้นแบบ เพื่อนำมาใช้ในการเรียนการสอนเรื่อง การ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ

3 วัตถุประ สงค์ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มี ต่อสื่องานต้นแบบเรื่อง การประกอบไม้ รูปแบบต่างๆ ในวิชางานไม้ 2 ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ห้อ งกส.1102 แผนกวิชาช่างก่อสร้าง วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา

4 แนวคิดใน การวิจัย 1. ขอบเขตด้านประชากร 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา นักศึกษา ปวช. ห้อง 1102 ที่กำลัง ศึกษาอยู่ใน วิทยาลัย เทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่ ภาค เรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 จำนวน 30 คน หน่วยเรียนที่ 4 เรื่องการ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ ของวิชางานไม้ 2 ( รหัส วิชา 2106-2101)

5 เครื่องมือที่ใช้ เก็บข้อมูล 1. ขั้นตอนก่อนเก็บข้อมูล 1.1 ศึกษาเนื้อหาวิชา งานไม้ 2 เรื่อง การ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ 1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ หลักการ วิธีการสร้างสื่อ 1.3 ออกแบบสื่อการสอนงานต้นแบบ 1.4 ผลิตสื่อการสอนงานต้นแบบ 1.5 นำสื่อที่สร้างขึ้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน เทคนิคการผลิตสื่องานต้นแบบ เรื่อง การ ประกอบไม้รูปแบบต่างๆ จำนวน 3 คน เพื่อหา คุณภาพของสื่อจำลอง ตรวจสอบความถูกต้อง และดัชนีความสอดคล้อง 1.6 นำไปปรับปรุงแก้ไข ก่อนนำไปสอน

6 การรวบรวม ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมด ไปวิเคราะห์หาค่าทางสถิต ให้นักศึกษาทำแบบประเมินความพึงพอใจ ดำเนินการสอนโดยใช้สื่องานต้นแบบ เลือกกลุ่มนักศึกษา

7 สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลจากแบบ ประเมินความพึงพอใจ โดยใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ดังสมการต่อไปนี้ 1. ค่าคะแนนเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) โดย คำนวณจากสูตร เมื่ อ แทนคะแนน เฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนน ทั้งหมด แทน จำนวนนักเรียนใน กลุ่มประชากร

8 ผลการ วิเคราะห์ ข้อมูล รายการประเมินระดับความพึงพอใจ 1. สื่อมีความสอดคล้องกับเนื้อหา 4.93 พึงพอใจมากที่สุด 2. สื่อมีขนาด รูปร่างที่สามารถ มองเห็นได้ชัดเจน 4.70 พึงพอใจมากที่สุด 3. สื่อช่วยให้เรียนรู้ จดจำ เข้าใจ ได้ง่าย 4.66 พึงพอใจมากที่สุด 4. รูปแบบของสื่อมีความน่าสนใจ ช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และ จดจำดีขึ้น 4.66 พึงพอใจมากที่สุด 5. สื่อที่ใช้เหมาะสมกับระดับความรู้ ของผู้เรียน 4.80 พึงพอใจมากที่สุด 6. สื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ใน การศึกษา 4.83 พึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.76 พึงพอใจมากที่สุด

9 สรุป ผลการวิจั ย จากผลการวิจัย พบว่านักศึกษามีระดับความพึง พอใจต่อสื่องานต้นแบบเรื่องประกอบไม้รูปแบบต่างๆ ในวิชางานไม้ 2 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุดและสื่อ งานต้นแบบมีส่วนช่วยให้ นักศึกษาเกิดความสนใจ ช่วย ให้เกิดเรียนรู้ กระตุ้นให้เกิดการจดจำได้ดีขึ้น และสื่อสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาในเรื่อง การประกอบไม้รูปแบบต่างๆ ในวิชางานไม้ ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ นฤมล โสภารัตนกุล (2554) ที่ได้ศึกษาเรื่องความพึงพอใจในการใช้สื่อ การเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และสถิติสำหรับ ธุรกิจ ของนักศึกษาภาคปกติ หลักสูตรการเงินและ หลักสูตรคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1. การศึกษาความพึง พอใจต่อสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และ สถิติสำหรับธุรกิจ นักศึกษามีระดับความพึงพอใจมาก ที่สุด

10 สื่องานต้นแบบที่ใช้ใน งานวิจัยครั้งนี้ การประกอบไม้แบบเพลาะไม้โดยใช้ตะปู การประกอบไม้แบบต่อบากตรง การประกอบไม้แบบต่อชนมุม 45 องศา การประกอบไม้แบบบากชนเดือยเดี่ยว


ดาวน์โหลด ppt นาย ภัทราวุธ พิชาชญชัย วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิ เทคนิคลานนา เชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google