งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัย เรื่องการอ่านภาพฉาย วิชางานเขียนแบบระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่

2 ปัญหาการวิจัย วิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นเป็นวิชาหนึ่งที่จัดอยู่ในวิชาปรับพื้นฐานที่จัดอยู่ในรายวิชาบังคับของหมวดวิชาชีพพื้นฐานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ในการจัดการเรียนตามแบบฝึกหัดและใบงานที่กำหนดให้ นักเรียนที่เข้ามาเรียนในวิชานี้ส่วนใหญ่จะมีความแตกต่างกัน ทั้งเรื่องระดับความรู้ ระดับความสามารถ และทักษะในงานช่าง โดยที่นักศึกษาที่เข้ามาเรียนในหมวดวิชาชีพนี้จะได้รับการฝึกทักษะ การสร้างความมีระเบียบ มีวินัย การตรงต่อเวลา ซึ่งนักศึกษาที่เข้ามาเรียนจะสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน และทักษะกับงานในสาขาของตนเองได้

3 ปัญหาการวิจัย(ต่อ) ผู้วินิจฉัยจึงได้มีความสนใจที่จะศึกษาความบกพร่องที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาสาขางาน ไฟฟ้ากำลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ชั้นปีที่ 1 จำนวน 160 คน ที่เรียนวิชาเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา การนำแบบทดสอบวินิจฉัย (Diagnostic Test) จึงเป็นวิธีการที่เหมาะสมอย่างหนึ่งที่จะได้มาขึ้นเพื่อชี้ให้เห็นถึงข้อจุดบกพร่อง จุดที่แก้ปัญหาหรืออุปสรรคในการเรียนเรื่องหนึ่ง ๆ ของนักเรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพื่อที่จะหาทางแก้ไขให้ได้ตรงจุดยิ่งขึ้น อันจะทำให้สามารถช่วยเหลือนักเรียนนักเรียนที่มีปัญหาหรืออุปสรรคให้บรรลุในการเรียน หรือเกิดการเรียนรู้ได้เหมือนคนอื่นๆ

4 วัตถุประสงค์ เพื่อหาคุณภาพขอบแบบทดสอบวินิจฉัยในด้าน ค่าความเที่ยงตรง ค่าความยากง่าย ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเชื่อมั่นในแบบทดสอบ เพื่อหาข้อบกพร่องในการอ่านภาพฉาย วิชางานเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น นักศึกษาสาขางาน ไฟฟ้ากำลัง ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ชั้นปีที่ 1

5 กรอบแนวคิดในงานวิจัย
ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม แผนการจัดการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียน การสอนโดยมีแบบฝึกหัด ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชางานเขียนแบบ นักศึกษาช่างไฟฟ้า กำลัง จำนวน 160 คน

6 นักศึกษาจำนวน 16 คน เทคนิคพื้นฐาน จำนวน นร. ที่ทำได้ เปอร์เซ็นต์
ตารางวิเคราะห์ข้อมูลพบว่านักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชางานเขียนแบบ สูงกว่าก่อนเข้าร่วมกิจกรรม นักศึกษาจำนวน 16 คน เทคนิคพื้นฐาน จำนวน นร. ที่ทำได้ เปอร์เซ็นต์ ก่อนการเรียนการสอน 48 30 % หลังการเรียนการสอน 130 81%

7 สรุปผลการวิจัย คู่มือการใช้แบบแบบทดสอบวินิจฉัย เรื่องการอ่านภาพฉาย วิชางานเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สร้างขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการนำแบบทดสอบวินิจฉัยไปใช้กับผู้ที่สนใจ ซึ่งคู่มือการใช้แบบทดสอบวินิจฉัยจะประกอบด้วย ความมุ่งหมายของแบบทดสอบ โครงสร้างของแบบทดสอบ ลักษณะของแบบทดสอบ การสร้างแบบทดสอบ คุณภาพของแบบทดสอบ เวลาที่ใช้ในการดำเนินการสอบ วิธีดำเนินการสอบ การตรวจให้คะแนนและการวินิจฉัยข้อบกพร่อง

8 ประโยชน์ที่ได้รับ ทำให้ทราบข้อบกพร่อง และสาเหตุของการบกพร่องในการอ่านภาพฉายไอโซเมตริก วิชางานเขียนแบบ เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอนนำไปแก้ไข หรือซ่อมเสริมข้อบกพร่องได้ตรงจุด และสามารถพัฒนาทักษะการเขียนแบบผู้เรียนในระดับสูงได้ เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบในการเรียนปรับพื้นฐานวิชาอื่นๆ ต่อไป


ดาวน์โหลด ppt คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google