งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
มหาวิทยาลัยทักษิณ

2 ความหมาย การประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง หมายถึง การประเมินความสามารถตามสภาพ ความเป็นจริงของผู้เรียนโดยเทคนิคหรือวิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้การประเมินต้องประเมินทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติตามมาตรฐาน (สมรรถนะ) ที่กำหนด

3 หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
ระดับ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย 6 ประเมินค่า 5 สังเคราะห์ ทำเป็นธรรมชาติ สร้างบุคลิกภาพ 4 วิเคราะห์ ปฏิบัติถูกต้องทุกขั้นตอน จัดระบบตนเอง 3 นำไปใช้ ปฏิบัติมีความผิดพลาดน้อย เห็นคุณค่า 2 เข้าใจ ปฏิบัติตามคำสั่ง ตอบสนอง 1 รู้จำ เลียนแบบ การรับรู้ หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง เป็นการประเมินความก้าวหน้าและการแสดงออกของนักเรียน บนรากฐานของทฤษฎีการเรียนรู้ ระดับ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย 6 ประเมินค่า - 5 สังเคราะห์ ทำเป็นธรรมชาติ สร้างบุคลิกภาพ 4 วิเคราะห์ ปฏิบัติถูกต้องทุกขั้นตอน จัดระบบตนเอง 3 นำไปใช้ ปฏิบัติมีความผิดพลาดน้อย เห็นคุณค่า 2 เข้าใจ ปฏิบัติตามคำสั่ง ตอบสนอง 1 รู้จำ เลียนแบบทำตาม การรับรู้

4 หลักของการประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง
มีรากฐานบนพัฒนาการและการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แตกต่างกัน การประเมินผลตามสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรต้อง ส่งเสริมซึ่งกันและกัน ต้องคำนึงถึงความเป็นไปได้เหมาะสมกัน การประเมินผลตามสภาพจริงและการพัฒนาหลักสูตรต้องมาจาก บริบทรากฐานทางวัฒนธรรมที่ผู้เรียนอาศัยอยู่ ผู้สอนต้องสามารถบูรณาการและปรับขยายหลักสูตรได้และทัน ยุคสมัยเพื่อให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมาย

5 Triangulate Assessment
ชิ้นงาน ผลงาน (นักเรียน) ผู้เรียน การแสดงผลงาน (บุคคลภายนอก) ข้อสอบมาตรฐาน (คณะกรรมการ)

6 ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินอย่างเป็นทางการ เป็นการประเมินตาม ความสามารถภาคทฤษฎี เครื่องมือส่วนใหญ่ใช้แบบทดสอบ มาตรฐาน ใช้วัดความสามารถทางวิชาการ ความถนัด และ ความพร้อม กระบวนการคิด การประเมินอย่างไม่เป็นทางการ เป็นการประเมิน ความสามารถภาคปฏิบัติ เน้นทักษะความสามารถในการ ทำงาน ได้แก่ บุคลิกภาพ (ทักษะการทำงานและจิตพิสัย) กระบวนการ และผลผลิต

7 วิธีการประเมินตามสภาพจริง
การประเมินตามสภาพจริงควรทำแบบค่อยเป็นค่อยไปจนเข้าใจโดยมีการวางแผนการประเมินเพื่อศึกษาผลสะท้อนกลับและภาพรวมของการประเมินว่าเข้าถึงเป้าหมายของจุดประสงค์ของการประเมินชัดเจน โดยพิจารณาดังนี้ 1. จุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน ขอบเขตที่ต้องการประเมิน ยุทธวิธีหรือเทคนิคที่ใช้ประเมิน การเก็บข้อมูลและประมวลผล การจัดทำบันทึกและรายงาน

8 จุดประสงค์และเป้าหมายการประเมิน
ประเมินพัฒนาและผลการเรียนรู้ ประเมินให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรียนรู้ สะท้อนให้เห็นพัฒนาการในจุดหลัก ๆ และหัวข้อการเรียนรู้ทั้งหมด

9 ขอบเขตที่ต้องการประเมิน
พัฒนาการในด้านศิลปะและดนตรี ความสามารถทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษา สังคมและวัฒธรรม ร่างกายและ บุคลิกภาพ หัวข้อหรือสาระการเรียนรู้ครอบคลุม ความรู้ ทักษะ และเจตคติ ความสามารถและพัฒนาการของผู้เรียน

10 ยุทธวิธีหรือเทคนิคที่ใช้ประเมิน
การสังเกต การบันทึกพฤติกรรม แบบสำรวจ การประมาณค่า แฟ้มสะสมงาน เครื่องมือวินิจฉัยอื่น ๆ

11 การเก็บข้อมูลและประมวลผล
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้เรียน ครู ผู้ปกครอง ระยะเวลาที่ประเมิน ระหว่างผู้เรียนทำกิจกรรม ระหว่างการทำงานกลุ่ม ในและนอกเวลา การ ประชุมสัมมนา เหตุการณ์หรืองานพิเศษ การประมวลผลโดยใช้สถิติเบื้องต้น หรือใช้โปรแกรม สำเร็จรูป เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน จุดประสงค์การเรียนรู้ เกณฑ์มาตรฐานหรือสมรรถนะรายวิชา

12 การจัดทำบันทึกและรายงาน
รายการกระบวนการปฏิบัติงาน ของผู้เรียน จากข้อมูลตามความสามารถและ พัฒนาการของผู้เรียน

13 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google