งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานทะเบียนนักศึกษากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานทะเบียนนักศึกษากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานทะเบียนนักศึกษากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย
รศ.นพ. กำจร ตติยกวี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา การสัมมนาเครือข่ายระบบทะเบียนนักศึกษาและประมวลผลการศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 7 25 ตุลาคม 2555 โรงแรม รอยัล ภูเก็ต ซิตี้ จังหวัดภูเก็ต

2 ประเด็นการนำเสนอ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย
งานทะเบียนนักศึกษาและฐานข้อมูลอุดมศึกษา เทคโนโลยีการศึกษากับการพัฒนาการศึกษา อนาคต : ทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษา การพัฒนางานทะเบียนนักศึกษาเพื่อรองรับประชาคมอาเซียน

3 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
วิสัยทัศน์ “คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ เป็นคนดี มีความสุข มีภูมิคุ้มกัน รู้เท่าทัน ในเวทีโลก”

4 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
พันธกิจ ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาสู่สากล เสริมสร้างโอกาสทางการศึกษาให้แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง เท่าเทียม พัฒนาระบบบริหารจัดการการศึกษาตามหลัก ธรรมาภิบาล และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน

5 แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559)
ยุทธศาสตร์ ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานผู้เรียน ครู คณาจารย์ บุคลากร ทางการศึกษาและสถานศึกษา ผลิตและพัฒนาคุณภาพกําลังคนรองรับการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพการแข่งขันของประเทศ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษา และการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา

6 (ร่าง) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
(ร่าง) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ ) วิสัยทัศน์ ปี 2559 อุดมศึกษาเป็นแหล่งองค์ความรู้และพัฒนากำลังคนระดับสูงที่มีคุณภาพ เพื่อการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน สร้างสังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ – 2559) บนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีบทบาทสูงในประชาคมอาเซียนและมุ่งสู่คุณภาพอุดมศึกษาระดับนานาชาติ

7 (ร่าง) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
(ร่าง) แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ ) เข็มมุ่ง/จุดเน้น ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพมีศักยภาพ ตรงตามความต้องการของสังคม มีความคิดวิเคราะห์ความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการสื่อสารและการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีสุขภาวะทั้งร่างกายและจิตใจ เน้นการใช้กลยุทธ์ผ่านการนำองค์กรเชิงรุก และกลยุทธ์การเงิน รวมทั้งพัฒนาอาจารย์ให้มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนและการวิจัย เพื่อให้ได้บัณฑิตที่พึงประสงค์ทำให้สังคมมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน

8 นโยบายการนำ ICT เพื่อพัฒนาการศึกษา
วิสัยทัศน์ ขับเคลื่อนประเทศไปสู่ศูนย์กลางการศึกษาวิจัยของภูมิภาค สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และ เสมอภาคด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

9 นโยบายการนำ ICT เพื่อพัฒนาการศึกษา
พันธกิจ ส่งเสริมและพัฒนา ICT เพื่อสนับสนุนให้เกิดสังคมแห่งการ เรียนรู้อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และความเสมอภาค ส่งเสริมและพัฒนา ICT เพื่อยกระดับมาตรฐานอุดมศึกษาไทย ให้เป็นที่ยอมรับในสากล สนับสนุนการจัดสรรและการบูรณาการทรัพยากรด้าน ICT เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่ศูนย์กลางการศึกษาวิจัยของภูมิภาค สนับสนุนการใช้ ICT เพื่อพัฒนาอุดมศึกษาไทย เพื่อรองรับ ความต้องการด้านทรัพยากรมนุษย์ในอนาคต ปรับปรุง และประเมินประสิทธิภาพการพัฒนาการศึกษาของ ชาติด้วย ICT

10 E-Library โรงเรียน R&D e-Learning IPTV Distance Learning
มหาวิทยาลัย วิทยาลัยอาชีวศึกษา พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการเรียนรู้ urank.info stks.or.th ห้องสมุดประชาชน เขตพื้นที่การศึกษา NEdNet ศูนย์การเรียนรู้บนเครือข่าย E-Library โรงเรียน R&D e-Learning ศูนย์ความรู้ IPTV แหล่งเรียนรู้ที่บ้าน/สถานประกอบการ Distance Learning

11 ความจำเป็นของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภายในระยะเวลาไม่กี่ศตวรรษเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ปฏิวัติวิถีชีวิต วิธีการทำงาน และพฤติกรรมของผู้คนในสังคมโลก เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญที่ทำให้ “โลกาภิวัฒน์” เป็นไปได้ มีอิทธิพลต่อกันและกัน และครอบงำกันได้ในบางกรณี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นทั้งโอกาสและการคุกคามทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การเมือง ฯลฯ เยาวชนมีทักษะการใช้เทคโนโลยีเหนือผู้ใหญ่

12 ทำไมต้องมีงานทะเบียน และฐานข้อมูลอุดมศึกษา
การเก็บรักษาข้อมูล ระบบฐานข้อมูลจะช่วยให้การเก็บรักษาข้อมูลเป็นระบบระเบียบ มีการจัดหมวดหมู่ของข้อมูลซึ่งจะทำให้ผู้จัดเก็บทำงานได้สะดวกมากขึ้น และป้องกันความผิดพลาดได้

13 ทำไมต้องมีงานทะเบียน และฐานข้อมูลอุดมศึกษา
การนำข้อมูลไปใช้ ระบบฐานข้อมูลจะทำให้การดึงข้อมูลออกมาใช้ได้สะดวก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น การสรุปข้อมูลและประมวลผลต่างๆ จะทำได้ง่ายขึ้น สามารถนำข้อมูลไปประกอบการจัดสินใจได้

14 ทำไมต้องมีงานทะเบียน และฐานข้อมูลอุดมศึกษา
การนำข้อมูลไปใช้ ระบบฐานข้อมูลจะต้องมีการบริหารจัดการที่ทันสมัย โปร่งใส รวดเร็ว ตรวจสอบได้ โดยสนองตอบความต้องการของผู้รับบริการทั้งภายในและภายนอก

15 ONE STOP SERVICE คือ การให้บริการเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อให้สามารถรับบริการต่างๆ ได้ ณ ที่แห่งเดียว แทนที่การติดต่อหลายแห่ง ทำให้ได้รับความสะดวกสบาย ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย ทั้งยังลดภาระค่าใช้จ่ายของหน่วยงาน สามารถใช้ร่วมกันทั้งสถานที่ บุคลากร ตลอดจนเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การให้บริการมีความรวดเร็วขึ้น

16 ประโยชน์ของฐานข้อมูลอุดมศึกษา
ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูล สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของข้อมูล สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้ สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้

17 ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาฐานข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดทำรายงาน การเผยแพร่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บฐานข้อมูล

18 การพัฒนาระบบงานทะเบียนนักศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษา สู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)

19 บูรณาการสู่ประชาคมอาเซียน พ.ศ. 2558
ASEAN Community 2015 คำขวัญ: One Vision, One Identity, One Community ประเทศสมาชิก: 10 ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3 เสาหลัก: ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน ASEAN Community ASEAN Political-Security Community (ASC) ASEAN Economic Community (AEC) ASEAN Socio-cultural Community (ASCC)

20 ผลกระทบจากความเป็นประชาคมอาเซียน
English Proficiency Index Rank Country Score Level 9 Malaysia 55.54 High Proficiency 34 Indonesia 44.78 Very Low Proficiency 39 Vietnam 44.32 42 Thailand 39.41 แหล่งข้อมูล: ASEAN Secretariat 2011 แหล่งข้อมูล: EF Education First Ltd. กฎบัตรอาเซียน ร่วมมือ 3 เสาหลัก การเคลื่อนย้าย

21 ASEAN Economic Community: AEC ให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว
ลักษณะพิเศษ เคลื่อนย้าย สินค้า เสรี วัตถุประสงค์ เคลื่อนย้าย บริการ เสรี ทำให้เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆได้ เคลื่อนย้าย การลงทุน เสรี เคลื่อนย้าย เงินทุน เสรี เคลื่อนย้าย แรงงานฝีมือ เสรี

22 ข้อตกลง AEC เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เปิดเสรี เปิดตลาดอย่างไม่มีเงื่อนไข
มีตลาดและฐาน การผลิตเดียว มีความสามารถแข่งขันสูง สร้างความเท่าเทียมในการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน ส่งเสริมการรวมกลุ่มอาเซียนเข้ากับ ประชาคมโลก เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เปิดเสรี เปิดตลาดอย่างไม่มีเงื่อนไข ปฏิบัติต่อสมาชิกอย่าง เท่าเทียม ขจัดอุปสรรคการค้า ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS) เคลื่อนย้ายบริการเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนเสรี การอำนวยความสะดวก จัดทำความตกลงยอมรับ ร่วมในบริการวิชาชีพ จัดทำโครงการแลกเปลี่ยน บุคลากรวิชาชีพ เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี Mutual Recognition Agreement (MRAs)

23 กลไกหลักภายใต้ความตกลง MRAs
บุคลากรวิชาชีพ (MRAs 8 สาขา) แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล นักบัญชี วิศวกร สถาปนิก ช่างสำรวจ ท่องเที่ยว ขออนุญาตองค์กรวิชาชีพในประเทศสมาชิกเพื่อประกอบวิชาชีพในประเทศ ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่งสามารถใช้ได้ในประเทศนั้นๆ (ภายใต้เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบภายในประเทศนั้นด้วย)

24 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)
ทักษะชีวิตและการทำงาน แนวคิดหลัก ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

25 5 อันดับแรกทักษะของลูกจ้างที่นายจ้างต้องการ
ที่มา:

26 บัณฑิตที่พึงประสงค์ต้อง ...
รู้ลึกในสาขาวิชา พัฒนานวัตกรรม และสร้างองค์ความรู้ใหม่ รู้รอบเรื่องประวัติศาสตร์ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม สังคมและสภาพเศรษฐกิจของประเทศตนและของประเทศอื่นๆ ในอาเซียน มีทักษะที่ดีด้านภาษาต่างประเทศ การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม การบริหารจัดการและมีภาวะผู้นำ มีการปรับตัวที่ดี สามารถทำงานได้ในสังคมพหุวัฒนธรรม มีทักษะพื้นฐานในการทำงาน มีความเป็นพลเมืองอาเซียนและสามารถรักษาอัตลักษณ์ความเป็นไทย


ดาวน์โหลด ppt งานทะเบียนนักศึกษากับ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google