งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6

2 เนื้อหาในสัปดาห์ที่ 6 1. Basic of Sectioning 2. Section Line & Cutting Plane Line 3. Type of Section (Full Section / Half Section / Offset Section / Broken-out section / Aligned Section (Conventional Revolution) / Revolved Section / Removed Section) 4. Conventional Breaks Rib, Web and Spoke

3 วัตถุประสงค์ในสัปดาห์ที่ 6
เข้าใจหลักการเบื้องต้นของการเขียนภาพตัด ประเภทต่าง ๆ 2. สามารถเขียนและอ่านแบบภาพตัดประเภท ต่าง ๆ ได้

4 การตัด (Section) คือ การผ่าวัตถุเพื่อให้มองเห็น หรือแสดงส่วนที่มีลักษณะซับซ้อนของวัตถุ ซึ่งไม่สามารถแสดงด้วยภาพฉาย Orthographic ได้

5 ภาพตัด (Section view) คือ ภาพที่แสดงการตัดหรือผ่าวัตถุ โดยสามารถมองเห็นรายละเอียดของวัตถุ, เนื้อวัตถุและที่ว่างได้อย่างชัดเจน

6 ภาพตัด (Section view) Cutting plane หรือ ระนาบตัด เป็นระนาบที่สมมุติขึ้นเพื่อใช้ตัดวัตถุ เพื่อให้เห็นรายละเอียดของวัตถุที่ซ่อนอยู่ด้านใน

7 ภาพตัด (Section view) 2 ระนาบตัด 1 3

8 ภาพตัด (Section view) ระนาบตัด

9

10 องค์ประกอบของภาพตัด (Section view)
View สำหรับการแสดงหน้าตัดที่ถูกตัด(Section View)

11 องค์ประกอบของภาพตัด (Section view)
1. เส้นแสดงแนวการตัด (Cutting Plane Line) คือ เส้นที่ใช้เป็นระนาบในการตัด 2. Section Line (สัญลักษณ์ของเนื้อวัตถุ) คือ เส้นที่แสดงหน้าตัดหรือเนื้อวัตถุที่ถูกระนาบตัดผ่าน

12 ลักษณะของ Cutting Plane Line น้ำหนักของเส้นเท่ากับ Visible line
Thick line ANSI standard ทิศทางการมอง This course Thick line ทิศทางการมอง JIS & ISO standard Thin line ทิศทางการมอง

13 ลักษณะของ Section Line
น้ำหนักของเส้นเท่ากับ Center line ถูกต้อง ระยะห่างไม่เท่ากัน เส้นลายตัดหนาเกินไป เส้นลายตัดตั้งฉากกับขอบรูป เส้นลายตัดชิดเกินไป น้ำหนักเส้นไม่เท่ากัน เส้นออกนอกกรอบรูป

14

15 ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด
1. การลากเส้นตัด (Section Line) โดยปกติให้เอียงทำมุมประมาณ 30๐ 45 ๐ หรือ 60 ๐ แต่จะต้องไม่ให้ขนานหรืออตั้งฉากกับกรอบรูป COMMON MISTAKE

16 ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด
2. การเขียนหัวลูกศรบน Cutting Plane Line ให้ ชี้หัวลูกศรไปในทิศทางการมองรูปและต้องวาง Section view ที่ด้านหลังของทิศทางลูกศร

17

18 Hidden Line ในภาพตัด ส่วนใหญ่จะไม่นิยมเขียนเส้นประ (Hidden line) ในภาพตัด เนื่องจากในภาพตัดเราจะสนใจรายละเอียดบริเวณที่มองไม่เห็นหรือโดนบังอยู่แล้ว แต่บางครั้งอาจมีความจำเป็นที่ต้องเขียนเส้นประ หากรูปนั้นเราต้องการแสดงบริเวณที่โดนบังเพื่อให้รูปมีสมบูรณ์มากขึ้น

19 Hidden Line ในภาพตัด

20 ข้อควรระวังในการเขียนภาพตัด
การเขียนเส้นในภาพตัด (Section view)

21 ประเภทของภาพตัด 1. FULL SECTION 2. HALF SECTION 3. OFFSET SECTION 4. BROKEN-OUT SECTION 5. ALIGNED SECTION (CONVENTIONAL REVOLUTION)

22 ประเภทของภาพตัด REVOLVED SECTION REMOVED SECTION * CONVENTIONAL BREAKS

23 1. FULL SECTION เป็นการตัดผ่านตลอดวัตถุเต็ม

24 ข้อสังเกตของ Full Section
ระนาบตัด ตัดผ่านทั้งชิ้นงานเป็นเส้นตรง แสดงรอยตัด (Section Line) ตลอดทั้งชิ้นงานที่ถูกตัดผ่าน

25 2. HALF SECTION เป็นการตัดวัตถุเพียงครึ่งเดียว นิยมใช้กับวัตถุที่มีความสมมาตร

26 2. HALF SECTION เป็นการตัดวัตถุเพียงครึ่งเดียว นิยมใช้กับวัตถุที่มีความสมมาตร

27 ข้อสังเกตของ Half Section
ระนาบตัด ตัดผ่านชิ้นงานแค่ครึ่งหนึ่ง แล้วหักศอก 90๐ ดังรูป แสดงรอยตัด (Section Line) แค่ครึ่งเดียว เส้นที่กั้นระหว่างด้านที่ถูกตัดกับด้านที่ไม่ถูกตัด คือ เส้น Center Line

28 3. OFFSET SECTION เป็นการตัดแบบ Full section ประเภทหนึ่ง แต่มีการหักเหทิศทางเพื่อแสดงให้เห็นส่วนที่สำคัญ

29 3. OFFSET SECTION ไม่แสดงขอบของระนาบตัด

30 ข้อสังเกตของ Offset Section
ส่วนใหญ่จะใช้กับรูปที่มีรูเจาะอยู่เยื้องไม่ตรงกัน แสดงรอยตัด (Section line) บริเวณที่รอยตัด ตัดผ่าน บริเวณที่เกิดการหักมุมของเส้นระนาบตัด จะไม่แสดง เส้นทึบ ที่ด้านแสดงรอยตัด

31 3. OFFSET SECTION

32 4. BROKEN-OUT SECTION เป็นการตัดที่แสดงบางส่วนที่สำคัญของวัตถุ
Break line

33 4. BROKEN-OUT SECTION

34 EXAMPLE : Comparison among several section techniques

35 5. ALIGNED SECTION CONVENTIONAL REVOLUTION
เป็นหลักปฏิบัติในการเขียนภาพฉายตั้งฉาก เพื่อลดความยุ่งยากซับซ้อนของการเขียนและการอ่านแบบ จากลักษณะของการฉายภาพที่ทำให้เกิดความไม่สมมาตร

36 5. ALIGNED SECTION CONVENTIONAL REVOLUTION

37 5. ALIGNED SECTION สำหรับการเขียนภาพตัด ได้นำวิธีการ Conventional Revolution มาใช้เช่นกัน โดยจะเรียกภาพตัดที่ใช้วิธีการนี้ว่า Aligned Section

38 5. ALIGNED SECTION

39 ข้อสังเกตของ ALIGNED SECTION
เส้น Cutting Plane Line สามารถเขียนแสดงได้ 2 ลักษณะ ดังรูป แนวของเส้น Cutting Plane Line ในส่วนที่มีการหมุนกวาด โดยปกติจะมีค่าน้อยกว่า 90 ° < 90°

40 6. REVOLVED SECTION

41 6. REVOLVED SECTION

42 6. REVOLVED SECTION

43 7. REMOVED SECTION

44 REMOVED SECTION VIEW Example : Revolved vs. removed sections.
Revolved section Removed section

45 * CONVENTIONAL BREAKS

46 ชิ้นส่วนที่มีการเขียนแสดงภาพตัดต่างจากปกติ - RIB - WEB - SPOKE

47 RIB

48 RIB A A

49 RIB A A

50 WEB

51 WEB A

52 WEB A

53 SPOKE

54 SPOKE A

55 ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning
จบสัปดาห์ที่ 6 อย่าลืมทำการบ้าน ด้วยตนเองและทบทวนบทเรียนผ่าน e-learning


ดาวน์โหลด ppt ภาพตัด (Section View) สัปดาห์ที่ 6.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google